Page 167 - kpiebook63009
P. 167
167
ตำรำง 4.12 เปรียบเทียบกำรใช้จ่ำยเงินของพรรคกำรเมือง 3 พรรค
เขตเลือกตั้ง/พรรค ชำติไทยพัฒนำ (บำท) อนำคตใหม่ (บำท) พลังประชำรัฐ (บำท)
1 991,855.00 340,169.08 914,900.00
2 1,302,519.50 292,352.10 912,114.03
3 1,123,391.00 660,062.60 831,960.00
4 1,200,279.00 394,218.60 812,020.00
รวม 4,618,044.50 1,686,802.38 3,470,284.03
พ.ต.อ.หญิง มำลินี ปัญญำค�ำเลิศ ผู้อ�ำนวยกำรกำรเลือกตั้งประจ�ำจังหวัดสุพรรณบุรี ให้สัมภาษณ์
ถึงค่าใช้จ่ายในการหาเสียงว่า
“ไม่จ�ากัด จริง ๆ แล้ว ผู้สมัครใช้เงินได้ไม่เกิน 1.5 ล้านอยู่แล้ว เพราะฉะนั้น ก็ต้องพยายาม
ค�านวณค่าใช้จ่าย และต้องมีใบเสร็จ แต่ที่บอก ให้แจ้งภายใน 10 วัน ไม่ได้มีบทลงโทษก�าหนด
บางพรรคลืมก็ไม่ได้แจ้ง แต่เวลาที่เขามารายงานเรื่องค่าใช้จ่ายเขาก็ต้องเขียนไว้ ทั้งทะเบียนรถ จ�านวน
คนผู้ช่วยหาเสียง ซึ่งผู้ช่วยหาเสียง มีได้ไม่เกิน 20 คน เปลี่ยนได้ไม่เกิน 1 ใน 3 ของผู้ช่วยหาเสียง”
“ผู้สมัครรับเลือกตั้งจะต้องรายงานข้อมูลภายใน 90 วันตั้งแต่วันเลือกตั้ง ตรงกับ 22 มิถุนายน
ซึ่ง 22 ติดวันเสาร์ก็เลยได้ถึงวันที่ 24 ในครั้งนี้ และถ้าภายใน 90 วันไม่ส่ง จะมีบทลงโทษ แต่เราก็มี
หนังสือเตือนส่งไปก่อน”
ซึ่งจากการสัมภาษณ์ พบว่า พรรคการเมืองต่างๆ มีการใช้จ่ายเงินในวงเงินไม่เกินที่กฎหมายกำาหนด
โดยใช้จ่ายเป็นค่าป้าย แผ่นพับ รถโฆษณา บัตรแนะนำาตัว ค่าจ้างแรงงานสำาหรับผู้ช่วยหาเสียง ดังคำาสัมภาษณ์
นำยณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ผู้สมัครรับเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 2 พรรคชำติไทยพัฒนำ กล่าวว่า
“ค่าใช้จ่ายในการหาเสียง ก�าหนด 1 ล้านห้าแสนบาท เก่าแล้ว ต้องใช้ 2 ล้านบาทขึ้นไป
มีป้าย แผ่นพับ รถหาเสียง มีรถ 10 คันมีค่าใช้จ่ายส่วนนี้เยอะที่สุด การก�าหนดเรื่องการหาเสียง
ไม่เหมาะสมหลายเรื่อง”