Page 206 - b30427_Fulltext
P. 206
กฎหมายกีฬาของต่างประเทศและประเทศไทย: กฎหมายกีฬาของต่างประเทศและประเทศไทย:
ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายกีฬาอังกฤษ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาและไทย ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายกีฬาอังกฤษ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาและไทย
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
เจษฎา บุญประสม. “ระบบดราฟท์: เอกลักษณ์ “อเมริกันเกมส์” ที่ล้มเหลวกับ
“ซอคเกอร์”.” Main Stand, ม.ป.ป., สืบค้นเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2564.
https://www.mainstand.co.th/catalog/1-Feature/54-ระบบดราฟท์+%3A+
เอกลักษณ์+“อเมริกันเกมส์”+ที่ล้มเหลวกับ+“ซอคเกอร์”.
เบญจวรรณ ธรรมรัตน์. “การพัฒนากฎหมายกำกับดูแลและส่งเสริมกีฬาอาชีพ.”
ดุษฎีนิพนธ์นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2559.
ชนมภูมิ งามภูพันธ์. “มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันการกระทบกระเทือนทาง
สมองจากการแข่งขันกีฬา.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขากฎหมาย
มหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2559.
ชนมภูมิ งามภูพันธ์. “มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันการกระทบกระเทือนทาง
สมองจากการแข่งขันกีฬา.” วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์ 11, ฉ.1.
มกราคม-มีนาคม 2561.
ชิดชนก ไชยเจริญ. “สถานะทางกฎหมายของเอเย่นต์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศ
ไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2557.
ณัฐกร วิทิตานนท์. “การพนันออนไลน์ในสหรัฐอเมริกา: หนึ่งประเทศหลายระบบ (1).”
ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน. ม.ป.ป. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2564. http://
www.gamblingstudy-th.org/issues_topic_1/354/2/1/online-casino-12/.
ณัฐกร วิทิตานนท์. “ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลาง มลรัฐ และองค์กรปกครองท้อง
ถิ่นในสหรัฐอเมริกา: บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ คำตัดสินของศาลสูงสุด และ
มาตรการเชิงงบประมาณ.” ใน บรรณาธิการโดยไพโรจน์ กัมพูสิริ, หนังสือ
ที่ระลึกครบรอบการก่อตั้ง 15 ปี นิติศาสตร์ มฟล.. กรุงเทพฯ, โรงพิมพ์
เดือนตุลา, 2561.
นัยนา พรประดับ. “การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนการจัดตั้งสมาคมกีฬาของการ
กีฬาแห่งประเทศไทย.” วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
ราชภัฏจันทรเกษม. 2554.
1
สถาบันพระปกเกล้า