Page 14 - 30425_Fulltext
P. 14
4. การจัดทำาป้าย QR Code
หลังจากที่มีการลงข้อมูลสุขภาพต้นยางนาในฐาน
ข้อมูลของสำานักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ ส่วนวนวัฒนวิจัย
ศูนย์วนวัฒนวิจัยที่ 1 (เชียงใหม่) เรียบร้อยแล้ว กรมป่าไม้จะ
จัดทำาป้าย QR Code ข้อมูลสุขภาพของต้นยางนาในแต่ละต้น
พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลใน QR Code อีกครั้ง
5. การติดตั�งป้าย QR Code
ทีมมดงานและเคร่อข่าย ร่วมกันติดป้าย QR Code จำานวน 1,048 ต้น
ผลัผลั่ตโครงการ
ผลผลิต
เชิงปริมาณ 1. มีผู่้เข้าร่วมอบรมโครงการเพ่่อนชวนเพ่่อน จำานวน 78 คน
2. มีแผ่่นป้าย QR Code ข้อมูลต้นยางนา จำานวน 1,048 ต้น
3. วิดีโอแนะนำา “โครงการร่วมใจช่วยต้นยางนา” 1 คลิป
เชิงคุณภาพ 1. ผู่้เข้าร่วมอบรมโครงการเพ่่อนชวนเพ่่อนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ต้นยางนาอยู่ในระดับมาก ร้อยละ 95 และระดับปานกลาง ร้อยละ 5
2. ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลต้นยางนาโดยการสแกน QR Code
เด่อนละ 190 ครั้ง
เชิงความพึงพอใจ 1. ผู่้เข้าอบรมโครงการเพ่่อนชวนเพ่่อนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี
มาก ร้อยละ 90 ระดับดี ร้อยละ 6 และระดับปานกลาง ร้อยละ 4
2. ผู่้เข้าใช้งาน QR Code เพ่่อดูข้อมูลสุขภาพต้นยางนา มีค่าเฉลี่ย
ความพึงพอใจ ร้อยละ 86
ผลัลััพิธิ์โครงการ
1. มีแกนนำาเยาวชนทีมมดงานและเคร่อข่ายนักเรียนจาก 5 โรงเรียนที่ผ่่านการอบรมด้าน
การตรวจสุขภาพต้นยางนา จำานวน 78 คน
2. มีฐานข้อมูลสุขภาพต้นยางนาของสำานักงานทรัพยากรกรมป่าไม้ที่ 1 (เชียงใหม่) และจัดทำา
QR Code จำานวน 1,048 ต้น
3. มีการติดตั้งป้าย QR Code จำานวน 1,048 แผ่่น
KPI NEW GEN 13
เยาวชนสร้้างสร้ร้ค์์นวัตกร้ร้มท้้องถิ่่�น ปีี 2565