Page 11 - 30425_Fulltext
P. 11

มดำงาน
          มดำงาน




       ชื่่�อทีีมเยาวชื่น   มดำงาน
       ชื่่�อโครงการ      ร่วมใจช่วยต้นยางนา
       ชื่่�อโรงเรียน      สาธิ่ตมหาว่ท้ยาลััยเช่ยงใหม่
       239 ถิ่นนห้วยแก้ว ตำบลัสุเท้พิ อำเภอเมือง
       จังหวัดำเช่ยงใหม่ 50230
       องค์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นท้ี�ส่นับส่นุนการดำำเน่นงาน
       องค์การบร่หารส่วนจังหวัดำเช่ยงใหม่
       888 ถิ่นนโชตนา ตำบลัช้างเผือก อำเภอเมืองเช่ยงใหม่
       จังหวัดำเช่ยงใหม่ 50300



          ท้่�มาของโครงการ
                ตามประกาศเขตพ่้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม (พ.ศ. 2558–ปัจจุบัน) ต้นยางนาและ
          ต้นขี้เหล็ก โดยอาศัยอำานาจตามมาตรา 45 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
          พ.ศ. 2535 โดยคำาสั่งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ 172/2558 เม่่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558

          รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
          สิ่งแวดล้อมแห่งชาติและการอนุมัติจากนายกรัฐมนตรี ได้กำาหนดให้พ่้นที่วัดจากศูนย์กลางทางหลวงแผ่่นดิน
          หมายเลข 106 ถนนเชียงใหม่-ลำาพูน ออกไปด้านละ 40 เมตร ตั้งแต่ลำาเหม่องพญาคำา อำาเภอเม่องเชียงใหม่
          ถึงสุดเขตตำาบลอุโมงค์ อำาเภอเม่องลำาพูน จังหวัดลำาพูน ในท้องที่ตำาบลวัดเกตุ ตำาบลหนองหอย อำาเภอ

          เม่องเชียงใหม่ ตำาบลหนองผ่ึ้ง ตำาบลยางเนิ้ง และตำาบลสารภี อำาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ และในท้องที่
          ตำาบลอุโมงค์ อำาเภอเม่องลำาพูน จังหวัดลำาพูน เป็นพ่้นที่ที่ให้ใช้มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม โดยฝ่าย
          ช่างสุขาภิบาล ส่วนพัฒนาโครงสร้างพ่้นฐาน สำานักช่าง องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ได้ตรวจสอบ
          สุขภาพต้นไม้ยางนาทั้ง 1,048 ต้นแล้ว โดยติดสัญลักษณ์ที่เป็นแถบสีไว้ที่ต้นยางนา โดยแบ่งเป็น 3 สี ค่อ

          สีแดง (ต้นไม้กำาลังป่วยหนัก) สีส้ม (ต้นไม้ป่วยแต่ไม่รุนแรง) และสีเขียว (ต้นไม้มีสุขภาพสมบูรณ์) และพบว่า
          มีต้นไม้ยางนาราว 1 ใน 3 กำาลังป่วยหนัก (สีแดง) ซึ่ึ่งอาการป่วยของต้นยางจำานวนมากเกิดจาก ระบบ
          รากมีปัญหาหร่อโดนกาฝากกิน โดนโบกทับด้วยซึ่ีเมนต์ คุณภาพดินไม่ดี และขาดสารอินทรีย์วัตถุ อีกทั้ง
          ขั้นตอนการรายงานสุขภาพของต้นยางแบบเดิมมีความล่าช้า และไม่มีข้อมูลของต้นยางนาที่ครบถ้วนและ

          เป็นปัจจุบัน ทำาให้การดูแลรักษาต้นยางนาทำาได้ไม่ทันท่วงที เกิดการหักโค่นหร่อกิ่งหัก สร้างความเสียหาย
          ต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู่้ที่อยู่อาศัยและผู่้ที่สัญจรผ่่านไปมา ดังนั้น เพ่่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวทีมมดงานจึง
          จัดการอบรมเยาวชนให้มีความรู้ด้านการตรวจสุขภาพต้นยางนา และสร้างระบบรายงานสุขภาพของต้น
          ยางผ่่านการสแกน QR Code ที่ติดอยู่บนต้นยางแต่ละต้น ซึ่ึ่งจะทำาให้สามารถรายงานสุขภาพต้นยางนา

          ให้เป็นปัจจุบันและเกิดความรวดเร็วมากขึ้น ช่วยให้ต้นยางนาได้รับการดูแลรักษาอย่างทั่วถึง และไม่เกิด
          การสูญเสียต้นไม้ยางนาในอนาคต


        10        KPI NEW GEN


                  เยาวชนสร้้างสร้ร้ค์์นวัตกร้ร้มท้้องถิ่่�น ปีี 2565
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16