Page 10 - b28783_Fulltext
P. 10
ฐานทรัพยากร และการพึ่งพาอาศัยกันในมิติวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนอาหารในชุมชน และยังสามารถซื้อ
อาหารได้จากแหล่งตลาดชุมชนที่หลากหลาย
มิติด้านการเยียวยาและช่วยเหลือจากรัฐในโครงการ “เราไม่ทิ้งกัน” พบว่า สมาชิกครัวเรือนเกษตรกร
รายย่อยที่หารายได้นอกภาคเกษตรกรรมยังตกหล่นหรือเข้าไม่ถึงการเยียวยาจ านวนมากแม้จะมีการขยายทั้ง
วงเงินงบประมาณและการปรับกระบวนการพิจารณาตรวจสอบสิทธิ์ เนื่องจากภาครัฐยังไม่เข้าใจต่อภาพชีวิต
ของครัวเรือนเกษตรกรรายย่อยที่มีชีวิตทางเศรษฐกิจที่หลากหลายมิติ การมุ่งเยียวยาครัวเรือนเกษตรกรที่
มองเห็นอาชีพทางการเกษตรมิติเดียว แต่การเยียวยาครัวเรือนเกษตรกรที่ให้หนึ่งครัวเรือนหนึ่งสิทธิ์ก็ท าให้
สมาชิกในครัวเรือนคนอื่น ๆ ที่มีแหล่งรายได้นอกภาคเกษตรกรรมไม่ได้รับเงินเยียวยา
หลังจากนั้นระหว่างเดือนกรกฎาคม ถึงกันยายน 2563 คณะผู้วิจัยได้ท าความเข้าใจสภาวการณ์ของ
ชุมชนในปัจจุบัน ด้วยการสนทนากับนักพัฒนาเอกชนที่ท างานคลุกคลีกับชุมชนในทุกภาค ได้บทสังเคราะห์
เบื้องต้นว่า กลุ่มผู้ใช้แรงงานที่ไปท างานเมืองเป็นด่านแรกที่ได้รับผลกระทบทันทีอย่างรุนแรง และก าลังกลับไป
พึ่งชุมชนเหมือนวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 แต่ชุมชนท้องถิ่นส่วนมากก าลังอยู่ในความเสี่ยงอย่างที่เคยเจอมาก่อน
เกษตรกรรมเชิงเดี่ยวที่พึ่งพาตลาดส่งออกต่างประเทศโดยเฉพาะพืชผักผลไม้ก าลังจะไม่มีตลาด เศรษฐกิจ
ชุมชนจะล้มเหลวอย่างรุนแรงยิ่งกว่าที่เคย สิ่งที่ตามมาส าหรับรอบการผลิตใหม่ก็คือภาวะภัยแล้ง การขาด
แคลนน้ าอย่างรุนแรง ท าให้ทั้งเกษตรเชิงเดี่ยวและเกษตรกรรมยั่งยืนก็จะประสบปัญหา ดังนั้นถึงแม้ว่า สินค้า
เกษตรบางชนิด เช่น ข้าว มันส าปะหลัง จะมีราคาสูงขึ้น แต่พวกเขาก็ผลิตไม่ได้
เมื่อตลาดขนาดใหญ่ซบเซาลง ตลาดสินค้าอาหารออนไลน์เติบโตขึ้น แต่นั่นก็ไม่ใช่สิ่งที่เกษตรกรรายย่อย
สามารถเข้าถึงและสร้างโอกาสให้กับตนเองได้มากเท่ากับธุรกิจอาหารขนาดใหญ่ อีกทั้งในระบบตลาดออนไลน์
ที่เรียกร้องการผลิตจ านวนมาก สม่ าเสมอแน่นอน และต้องมีเงินทุนส ารองพอเพียง
ต่อจากนั้นได้ศึกษาชุมชนเกษตรกรรมและฐานทรัพยากร 6 พื้นที่ เชิงลึกโดยจัดเป็นเวทีหารือเกี่ยวกับ
ประมวลผลจากข้อมูลที่ได้จากผลการส ารวจเชิงปริมาณและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพร้อมกันและ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ พร้อมทั้งวางแผนในการน าเสนอรายงานของแต่ละพื้นที่ แสดงให้เห็นว่าชุมชน
ท้องถิ่นเผชิญวิกฤติโครงสร้างทั้งเรื่องเข้าถึงฐานทรัพยากร ความผันผวนของนิเวศ เศรษฐกิจตลาดตกต่ า มา
ต่อเนื่องก่อนเผชิญโควิด ภาพรวม แม้ผลกระทบโควิดต่อภาคเกษตรจะไม่รุนแรงเท่ากับภาคอื่น ๆ (บริการ
อุตสาหกรรม) แต่มีลักษณะซ้ าเติมผลกระทบเดิมที่เกษตรกรย่ าแย่อยู่แล้วให้รุนแรงขึ้น
สภาวะการปรับตัวของชาวบ้านยังเป็นไปอย่างจ ากัด ด้วยการลดค่าใช้จ่าย หันมาพึ่งความมั่นคงอาหาร
ในครัวเรือนและชุมชน บางครัวเรือนไม่กู้หนี้เพิ่มเพราะไม่มีก าลังจะจ่ายลงทุน การหาทางอาชีพเสริมเป็นไปได้
จ ากัด เพราะชุมชนได้ทดลองมาหลายอย่าง แต่ไม่มีตลาด ทุน และความรู้ทักษะรองรับที่ชัดเจน
เงื่อนไขการปรับตัวอยู่ที่ความพร้อมของชุมชน ชุมชนที่มีฐานทรัพยากรเป็นหลังอิง ยังพอมีความมั่นคง
อาหารที่ไม่ผ่านตลาดได้ ชุมชนที่มีกลุ่มออมทรัพย์เข้มแข็ง (กรณีสงขลา ภูเก็ต) ระบบการเงินชุมชนยัง
ช่วยเหลือชุมชนได้ดี สมาชิกยังมีวินัยทางการเงินอยู่ ชุมชนที่ฐานเศรษฐกิจหลากหลาย (บริโภค ขายในภาคน
เกษตร และฐานเศรษฐกิจนอกภาคเกษตร) ยังกระจายความเสี่ยงไปได้
ดังนั้นข้อเสนอแนะจากงานวิจัยนี้ต่อภาครัฐจึงให้ความส าคัญกับนโยบายรัฐในการช่วยเหลือประชาชนที่
ประสบความเดือดร้อนอย่างเร่งด่วนอย่างถ้วนหน้า โดยใช้ระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ และสนับสนุน
งบประมาณไปโดยตรงในรูปกองทุนให้ชุมชนท้องถิ่นด าเนินการจัดการของตนเอง รวมทั้งการกระตุ้นเศรษฐกิจ
เร่งปฏิรูปนโยบาย และกฎหมายด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ส่วนข้อเสนอเชิงมาตรการที่ภาครัฐ วิชาการ และประชาสังคมด าเนินการได้ทันที เน้นพัฒนาระบบ
ฐานข้อมูลชุมชนอย่างเท่าทันสถานการณ์ โดยสามารถจ าแนกแยกแยะชุมชนแบบต่างๆ ทั้งชุมชนท้องถิ่นที่มี
vii