Page 248 - 23154_Fulltext
P. 248
243
ไพโรจน์ ชัยนาม (2515) สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญของต่างประเทศกับระบอบการปกครองของ
ไทย. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย (2558). แนวความคิดและหลักการว่าด้วยการละเมิดอ านาจรัฐสภา. กรุงเทพฯ:
สถาบันพระปกเกล้า.
ภาคภูมิ ฤกขะเมธ และ วรัญญา วุฒิพันธุ์ (2557). องค์ประกอบ และการท าหน้าที่นิติบัญญัติของรัฐสภา
ไทยชุดที่ 24 : การผสมผสาน หลักฐาน ข้อมูล และความคิดเห็นในเชิงประเมิน. วารสารสถาบันพระปกเกล้า,
12(1) (มกราคม - เมษายน 2557), หน้า 5-22
ภูมิ มูลศิลป์ (2563). บทบาทหน้าที่ของวุฒิสภาในระบบสภาคู่กับประสิทธิภาพในการเสริมสร้าง
เสถียรภาพทางการเมืองและการพัฒนาประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ภูริ ฟูวงศ์เจริญ (2563). การเมืองการปกครองไทย: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ (พ.ศ. 2475-2540).
กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มติชนออนไลน์. (2563). เปิดชนวนเดือด ร่างแก้ รธน.ฉบับ ‘ไอลอว’. Retrieved 23 มิถุนายน 2565,
from https://www.matichon.co.th/politics/news_2448832
วาสนา นาน่วม (2545). บันทึกค าให้การ สุจินดา คราประยูร: ก าเนิดและอวสาน รสช. มติชน.
วิเชียร เพ่งพิศ (2563). “The king can do no wrong” แนวความคิดของปรีดี พนมยงค์ ต่อสถาบัน
พระมหากษัตริย์. เข้าถึงเมื่อ 1 พฤษภาคม 2565, จาก https://pridi.or.th/th/content/2020/12/539
วิทยากร เชียงกูล (2527). ช่วงที่ผมไป 'หาความหมาย' ที่ธรรมศาสตร์. ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
(บรรณาธิการ), ธรรมศาสตร์ 50 ปี. คณะอนุกรรมการเอกสารและหนังสือที่ระลึกในคณะกรรมการกึ่งศตวรรษ
ธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิษณุ เครืองาม (2530). กฎหมายรัฐธรรมนูญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ
วรเจตน์ ภาคีรัตน์ (2564). ค าสอนว่าด้วยรัฐและหลักกฎหมายมหาชน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: อ่าน
กฎหมาย.
วุฒิสาร ตันไชย และคณะ (2562). การประเมินผลการด าเนินงานของรัฐสภาไทย (สมาชิกสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ) : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : ส านักส่งเสริมวิชาการรัฐสภา สถาบันพระปกเกล้า.
ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณีเม.ย.-พ.ค.53. (2555). ความจริงเพื่อ
ความยุติธรรม: เหตุการณ์และผลกระทบจากการสลายการชุมนุม เมษา - พฤษภา 53. ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับ
ผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค.53.