Page 51 - 22825_Fulltext
P. 51
ตัวชี้วัดหลัก ตัวชี้วัดย่อย ค าอธิบาย แหล่งข้อมูล
เกณฑ์คะแนน
1 = ไม่มีความขัดแย้ง
2 = ความขัดแย้งแอบแฝง หมายถึง ความแตกต่างทางต าแหน่งที่สูงกว่าที่
ก าหนดไว้ในบทบัญญัติที่ส าคัญประจ าชาติ
3 = ความขัดแย้งที่ปรากฏชัดแจน หมายถึง การแสดงออกถึงการคุกคามโดย
ใช้ความรุนแรง; การก าหนดมาตรการคว่ าบาตรทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น
4 = ขั้นวิกฤติ หมายถึง สถานการณ์ตึงเครียดทั่วประเทศ โดยมีอย่างน้อยกลุ่ม
หนึ่ง ใช้ความรุนแรงในเหตุการณ์เป็นระยะ ๆ
5 = วิกฤตขั้นรุนแรง: สงครามกลางเมือง; มีการใช้ก าลังรุนแรงอย่างต่อเนื่อง
อย่างเป็นลักษณะเดียวกันทั่วทั้งประเทศ
1.6 ความสัมพันธ์กับประเทศ การประเมินเชิงคุณภาพ ประเมินความรุนแรงของความขัดแย้งกับประเทศ EIU
เพื่อนบ้าน เพื่อนบ้าน จากระดับ 1-5 ระดับ (สงบสุขถึงก้าวร้าวมาก) โดยทีมวิเคราะห์
ประเทศของ EIU ขอให้นักวิเคราะห์ของประเทศประเมินตัวชี้วัดนี้เป็นประจ าทุกปี
เกณฑ์คะแนน
1 = สงบสุข: ไม่มีประเทศเพื่อนบ้านใดโจมตีประเทศมาตั้งแต่ปี 1950
2 = ต่ า: ความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้านโดยทั่วไปดี แต่ความก้าวร้าวปรากฏอยู่ใน
สุนทรพจน์ของนักการเมืองหรือในมาตรการกีดกัน
3 = ปานกลาง: มีความตึงเครียดและมีข้อจ ากัดทางเศรษฐกิจและการทูตจาก
ประเทศอื่น
4 = มีการรุกราน: เปิดฉากความขัดแย้งโดยใช้ความรุนแรงและการประท้วง
5 = มีการรุกรานมาก: ถูกรุกรานบ่อยครั้งโดยประเทศเพื่อนบ้าน
2. ความปลอดภัย 2.1 ระดับการรับรู้ต่ออาชญากรรม การวัดเชิงปริมาณ โดยใช้ค าถามจาก Gallup World Poll เป็นพื้นฐาน - Gallup World Poll
และ ความมั่นคงใน หรือการท าผิดกฎหมายในสังคม ส าหรับการรับรู้ถึงความผิดทางอาญา ในข้อค าถาม “คุณรู้สึกปลอดภัยที่จะ - IEP estimates
สังคม เดินคนเดียวในเวลากลางคืนในเมืองหรือพื้นที่ที่คุณอาศัยอยู่หรือไม่” ซึ่งทีม
IEP จะค านวณคะแนนตามเปอร์เซ็นต์ของผู้ที่ตอบว่า "ไม่" ส าหรับค าถามนี้ ใน
2-11