Page 89 - 22665_Fulltext
P. 89

72




                                        3.1.2.4 รูปแบบการด าเนินโครงการและปัญหาอุปสรรคในอดีต
                                               หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะส่งเสริมอาชีพทางด้านการเกษตร การประมง

                       และอุตสาหกรรม ในครอบครัว เช่น การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ การท าการเกษตรแบบผสมผสาน การ
                       เลี้ยงปลา ฯลฯ พร้อมจัดที่พักอาศัยและสิ่งอื่น ๆ ให้เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ราษฎรเหล่านั้น ได้เข้า

                       ร่วมโครงการและได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ได้ขออนุญาติใช้ประโยชน์
                       ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินจากส านักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เป็นเวลา 30 ปีและได้ด าเนินการ

                       จัดตั้งโครงการ โดยได้รับความร่วมมือจากจังหวัดศรีสะเกษ และ กองก าลังสุรนารี ในการประสานงาน
                       และด าเนินงานโครงการฯ เพื่อให้โครงการส าเร็จลุล่วงเป็นไปตามแนว พระด าริ และพระประสงค์ของ

                       องค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ส าหรับรูปแบบการด าเนินงาน จังหวัดศรีสะเกษ โดยผู้ว่าราชการ

                       จังหวัดศรีสะเกษ ในฐานะประธานคณะกรรมการด าเนินงานโครงการเป็นผู้รับผิดชอบในระดับจังหวัด
                       และกองก าลังสุรนารีเป็นหน่วยประสานงานในระดับพื้นที่โครงการ โดยมีส านักกิจกรรมพิเศษ

                       สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์เป็นหน่วยงานที่ท าหน้าที่ก ากับดูแล ประสานงาน และติดตามความก้าวหน้าของ

                       โครงการ  คณะกรรมการด าเนินงานโครงการทับทิมสยาม 06 และ 07 จังหวัดศรีสะเกษ ตามค าสั่ง
                       จังหวัดศรีสะเกษ ที่ 1781/ 2544 ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2544 ประกอบด้วย

                                  (1) ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ    ประธานกรรมการ
                                  (2) รองผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ   รองประธานกรรมการ

                                  (3) หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด   กรรมการ
                                  (4) หัวหน้าส านักงานจังหวัดศรีสะเกษ กรรมการและเลขานุการ

                                  อ านาจหน้าที่คณะกรรมการด าเนินงานโครงการทับทิมสยาม อาทิ ก าหนดแนวทางใน

                       การพัฒนาให้สอดคล้องกับนโยบายของสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
                       และสังคมแห่งชาติและนโยบายรัฐบาล กระทรวง ทบวงกรมต่าง ๆ เพื่อให้ บรรลุ วัตถุประสงค์ของ

                       ทางราชการและความต้องการของประชาชน และ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานในพื้นที่แล้ว

                       รายงานผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษทราบ เพื่อจะได้รายงานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ต่อไป เป็นต้น
                       ข้อมูลในปี 2545 สร้างบ้านให้ราษฎรแล้วรวม 155 ห้อง คงเหลือบ้านที่ยังไม่ได้สร้าง 53 ห้อง รายได้

                       ในขณะนั้น 11,994 บาท/คน/ปี และการส่งมอบโครงการในเวลาต่อมา จังหวัดศรีสะเกษ ได้ส่งมอบ
                       ความรับผิดชอบให้กับส่วนราชการที่เป็นหน่วย ด าเนินการในพื้นที่เรียบร้อยแล้วตั้งแต่หลังปี พ.ศ.

                       2545
                                  ส าหรับปัญหาและอุปสรรค ในอดีต ในช่วงปี 2537-2545 มีปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับ

                       แหล่งน้ าการเกษตร อพยพแรงงาน การศึกษาต่อ รถประจ าท าและขาดความสามัคคี ดังนี้
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94