Page 144 - kpi22228
P. 144

136



                       จะเห็นไดวาพรรคฯ มีกิจกรรมในการสรางภาพลักษณ ดังนี้ การทํางานในสภา ในกรรมาธิการตาง ๆ

               เพื่อแสดงบทบาท การใชเวทีรัฐสภาในการยืนยันอุดมการณของพรรค เชน ปจจุบันพรรคยืนหยัดที่จะไมแกไข
               รัฐธรรมนูญทั้งฉบับ การลงมติไมยอมรับการแกไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับคือการยืนยันจุดยืนของพรรคที่มีอยู

                       การที่พรรคใชแนวการทํากิจกรรมสรางภาพลักษณทางผานโรงเรียนการเมือง ดานการหาเสียง

               ในสื่อออนไลนพรรคไมไดมีแนวทางอยางเปนทางการในการหาเสียงออนไลน เพราะไมแนใจวาจะออกมา
               ในรูปแบบใด และไมแนใจวาจะทําอยางไรถึงจะเขาถึงมวลชนได ถาคิดเปนสัดสวนคือ หาเสียงออนไลนแค

               30% พรรคเนนการเดินหาเสียงตามบานมากกวา

                       สวนการรักษาความสัมพันธกับมวลชนทางสื่อ social media หากมีการโพสเกี่ยวกับนโยบายหรือ
               ผูสมัคร ก็จะเห็นวา บางคนชอบ บางคนไมชอบ คนไมชอบก็จะโดนวา ถาเปนผูหญิงก็จะโดน body shaming

               วิธีการแกไขปญหาคือ ใหมีผูดูแลระบบชวยดูแลใหทั่วถึง

                       จากที่กลาวมาจะเห็นไดวาพรรครวมพลังประชาชาติไทยแสดงตนในฐานะพรรคที่เชื่อมโยงกับ กปปส.
               อยางชัดเจน และเชื่อมั่นวาแนวทางดังกลาวจะเปนการเปนตัวแทนของผูสนับสนุน กปปส. ตอไป ในปจจุบัน

               จึงไดมีความพยายามที่จะปรับปรุงโครงสรางพรรค โดยเฉพาะในเรื่องการสื่อสารและการประชาสัมพันธใหเปน

               ระบบ เพื่อใหสามารถสื่อสารกับผูสมัครใหไดชัดเจนมากขึ้น สิ่งที่อาจจะตองการปรับปรุงในการเลือกตั้งครั้ง
               ตอไปคือ ชื่อพรรคมีความยาวเกินไป จํายาก และปายโลโกพรรคมีความซ้ําซอนกับพรรคอื่น อาจจะตอง

               ปรับสองสวนนี้ใหสามารถเขาถึงประชาชนไดงายมากขึ้น การสื่อสารกับอดีตผูสมัครยังอาจไมตอเนื่อง จึงตอง

               แกไข ในจุดนี้


                       4.1.6 พรรคไทยรักษาชาติ

                       พรรคไทยรักษาชาติ เปนพรรคการเมืองที่จัดตั้งขึ้นตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2552 ในนามพรรครัฐไทย
               หัวหนาพรรคคือ เอกสิทธิ เจาฑานนท ตอมาในป 2553 ไดเปลี่ยนชื่อเปนพรรคไทยรวมพลัง ภายหลังไดมีการ

               เปลี่ยนแปลงโครงสรางผูบริหารพรรคและเปลี่ยนชื่อพรรคเปนพรรคไทยรักษาชาติในเดือนตุลาคม 2561 และ

               ร.ท. ปรีชาพล พงษพาณิช อดีต ส.ส. ขอนแกน พรรคพลังประชาชน ดํารงตําแหนงหัวหนาพรรค (Thai PBS,
               2562) สมาชิกพรรคที่สําคัญอื่น ๆ เชน นายจาตุรนต ฉายแสง อดีตรัฐมนตรีในรัฐบาลพรรคไทยรักไทยและ

               เพื่อไทยและอดีตสมาชิกพรรคทั้งสอง ซึ่งทําหนาที่เปนประธานยุทธศาสตรพรรคไทยรักษาชาติ นายณัฐวุฒิ

               ใสยเกื้อ แกนนํากลุม นปช. อดีต ส.ส. พรรคเพื่อไทย และรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ ชินวัตร  รวมถึง
               อดีต ส.ส. พรรคเพื่อไทยและไทยรักไทยบางสวน

                       โดยพรรคไดรวมกับพรรคเพื่อไทย ดําเนินยุทธศาสตร “แยกกันเดิม รวมกันตี” โดยการสงผูสมัคร ส.ส.

               ลงในเขตพื้นที่ซึ่งพรรคเพื่อไทยไมสงผูสมัครลงแขงขัน และไมสงผูสมัครลงแขงขันในเขตเดียวกัน โดยเปนแผน
               ยุทธศาสตรเพื่อตอบสนองตอระบบการเลือกตั้งภายใตรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ที่ทําใหพรรคเพื่อไทยไมสามารถ

               ไดที่นั่งในสภาไดมากที่เคยเปนในกรณีพรรคไทยรักไทย และพรรคเพื่อไทยในป 2554 ทั้งนี้ (iLaw, 2562)

               พรรคไทยรักษาชาติยังประกาศอยางชัดเจนถึงเปาหมายในการสานตอนโยบายของพรรคไทยรักไทย เชน
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149