Page 7 - kpi20896
P. 7
6
2) กลุ่มตัวแปรโครงสร้างทางระบบเศรษฐกิจ ซึ่งใช้ตัวแปรสัดส่วนการว่างงานจากแรงงานทั้งหมดเป็นตัวแทน
3) กลุ่มตัวแปรตัวแทนธรรมาภิบาลของรัฐโดยใช้ตัวแปรดัชนีประสิทธิผลภาครัฐ ตัวแปรดัชนีนิติธรรม และ
ตัวแปรดัชนีคุณภาพการออกกฎหมายเป็นตัวแทน ผลการทดสอบพบว่าแบบจ้าลองควรทดสอบด้วยวิธี
Random Effect และพบผลที่เป็นไปตามทฤษฎีกล่าวคือ ดัชนีหลักนิติธรรม (b = 0.535) และรายจ่ายของ
รัฐบาลสุดท้ายต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (b = -0.0262) มีอิทธิพลต่อการกระจายรายได้ไปสู่กลุ่มผู้มี
รายได้ต่้าที่สุดร้อยละ 10 อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลสรุปส้าคัญ ได้แก่ 1) ยิ่งประเทศร่้ารวยมากขึ้นจะยิ่งใช้จ่ายมากขึ้นแต่กลับท้าให้ความเหลื่อมล้้าแย่ลง
ดังนั้น จึงควรเน้นการใช้จ่ายไปที่กลุ่มประชากรที่เป็นเป้าหมายมากกว่าการใช้จ่ายปริมาณมาก 2) การว่างงาน
เป็นปัจจัยที่มีผลต่อความเหลื่อมล้้า รัฐควรมีแนวทางให้เกิดการจ้างงานมากที่สุด 3) นิติธรรม (Rule of Law)
เป็นปัจจัยเกื้อหนุนในการช่วยลดความเหลื่อมล้้าโดยเฉพาะส้าหรับกลุ่มประชากรที่ยากจนที่สุดร้อยละ 10
ค้าส้าคัญ : ความเหลื่อมล้้าด้านรายได้, สัดส่วนการกระจายรายได้ไปยังกลุ่มผู้มีรายได้ต่้าที่สุดร้อยละ 10,
Panel Data Analysis, อัตราการว่างงาน, การใช้จ่ายของภาครัฐ, GNI, Rule of Law