Page 178 - kpi20488
P. 178
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 177
• พระร�ชบัญญัติภ�พยนตร์และวิดีทัศน์ พ.ศ. 2551
• พระร�ชบัญญัติว่�ด้วยก�รกระทำ�คว�มผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550 ที่มีเนื้อห�ส�ระครอบคลุมประเด็นก�รกำ�กับดูแลก�ร
เผยแพร่ข้อมูลในโซเชียลมีเดีย และอื่นๆ
• พระร�ชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นคว�มถี่และกำ�กับก�รประกอบ
กิจก�รวิทยุกระจ�ย เสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจก�รโทรคมน�คม
พ.ศ. 2553
• พระร�ชบัญญัติก�รประกอบกิจก�รกระจ�ยเสียงและกิจก�รโทรทัศน์
พ.ศ. 2551
• พระร�ชบัญญัติจดแจ้งก�รพิมพ์ พ.ศ. 2550
• ประมวลกฎหม�ยอ�ญ� ลักษณะคว�มผิดเกี่ยวกับเพศ ม�ตร� 287
• พระร�ชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งช�ติ พ.ศ. 2553
• พระร�ชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
• พระร�ชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
• พระร�ชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
(ดูร�ยละเอียดในภ�คผนวก 1)
2.2 กลไกทางจริยธรรม
แม้จะมีกรอบจริยธรรมและจรรย�บรรณแห่งวิช�ชีพครอบคลุม
ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ และสื่อสังคม รวมทั้ง ก�รกำ�หนดแนวปฏิบัติ
จ�กหน่วยง�นกำ�กับดูแลสื่อ เช่น สำ�นักง�นคณะกรรมก�รกิจก�รกระจ�ยเสียง
กิจก�รโทรทัศน์ และกิจก�รโทรคมน�คมแห่งช�ติ (กสทช.) แล้วก็ต�ม แต่ยังคง
มีข้อสังเกตถึงผลในท�งปฏิบัติที่เกิดขึ้น ซึ่งหล�ยกรณีสะท้อนว่� องค์กรวิช�ชีพสื่อ
ยังมีข้อจำ�กัดในก�รกำ�กับดูแลกันเอง มีก�รศึกษ�วิจัยเกี่ยวกับแนวท�งและ
กลไกก�รกำ�กับดูแลที่เหม�ะสมสำ�หรับประเทศไทย ซึ่งจัดทำ�โดย มห�วิทย�ลัย
ร�ชภัฏอุตรดิตถ์ (2556) ได้ข้อสรุปที่ชัดเจนถึงรูปแบบก�รกำ�กับดูแลที่เหม�ะสม