Page 85 - kpi19910
P. 85
75
เสร็จเมื่อเดือนมีนาคม 2553 ปัจจุบันอยู่ระหว่างขั้นตอนด าเนินการส ารวจ ออกแบบโครงการฯ คาดว่า
จะแล้วเสร็จประมาณเดือนพฤศจิกายน 2562
ส าหรับโครงการคลองประ อันเนื่องมาจากพระจากพระราชด าริ หากด าเนินการก่อสร้างแล้ว
เสร็จจะสามารถเก็บกักน้ าจืดไว้ใช้และสร้างประโยชน์ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ จากพื้นที่รับประโยชน์
เดิม 27,810 ไร่ เพิ่มพื้นที่ชลประทานเปิดใหม่อีกประมาณ 21,990 ไร่ รวมพื้นที่รับประโยชน์ทั้งหมด
49,800 ไร่ ครอบคลุม 2 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอเมือง และ อ าเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ช่วยป้องกัน
การรุกตัวของน้ าเค็มเข้ามาในคลองประและคลองสาขา เป็นการพัฒนาระบบชลประทานริมคลองประ
และบริเวณโดยรอบ ท าให้สภาพดินมีความชุ่มชื้นตลอดปี รวมทั้งควบคุมดินบริเวณ ริมคลองประที่มี
สภาพเป็นกรดจัด มิให้สัมผัสกับอากาศเกิดเป็นดินเปรี้ยวได้ เป็นการป้องกันไม่ให้มีการน าน้ าเค็มมาใช้
ในการเพาะปลูก ซึ่งท าให้เกิดความเค็มตกค้างในดิน ก่อให้เกิดผลเสียต่อคุณภาพดินและผลผลิตลดลง
อีกทั้งการพัฒนาระบบชลประทานในพื้นที่เปิดใหม่จะก่อให้เกิดโอกาสแก่ราษฎรในพื้นที่ที่ไม่เคยได้รับ
น้ าชลประทาน ได้มีโอกาสที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตและมีรายได้ที่ดีขึ้น
ในส่วนของความกังวลใจของประชาชนในพื้นที่เกี่ยวกับการด าเนินโครงการคลองประฯ
กรณีตะกอนทับถมและสารเคมีตกค้างในคลองประ ประตูระบายน้ ามีการเปิดบานพ้นน้ าตลอดเวลา
ในช่วงน้ าหลากซึ่งเป็นช่วงที่มีตะกอนในล าน้ ามาก ซึ่งตะกอนสามารถไหลผ่านประตูระบายน้ าลงไปยัง
ทะเลหลวงได้ตามปกติ ส่วนการปิดบานประตูระบายน้ า จะเป็นช่วงระยะเวลาสั้น ๆ และเป็นช่วงที่มี
ตะกอนในล าน้ าน้อย เนื่องจากเป็นช่วงแล้งหรือเป็นช่วงที่น้ าเค็มรุกตัวเข้ามาในคลองปากประ ซึ่งน้ าจะ
ไหลย้อนจากทะเลหลวงเข้ามาในพื้นที่ จึงท าให้โอกาสที่จะเกิดตะกอนทับถมหน้าประตูระบายน้ า
เกิดขึ้นได้น้อย อีกทั้งประตูระบายน้ าปากคลองประได้ออกแบบให้มีบานระบายตะกอนในกรณีที่
ต้องการระบายตะกอนที่ตกทับถมอยู่หน้าประตูระบายอยู่แล้ว ดังนั้น จึงไม่เป็นต้นเหตุของการปิดกั้น
ตะกอนในล าน้ าได้ ส่วนในด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศของสัตว์น้ า กรมชลประทานได้
ด าเนินการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการฯ แล้วเสร็จเมื่อปี 2553 และได้ผ่านการพิจารณา
เห็นชอบจากส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เมื่อปี 2557 โดย
รายงานผลการศึกษาไว้ว่า ช่วงระยะเวลาที่สัตว์น้ าในพื้นที่จะขึ้นมาวางไข่ในพื้นที่ต้นน้ านั้นจะเป็น
ช่วงเวลาน้ าหลากของปี ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวประตูระบายจะเปิดหรือยกบานระบายพ้นน้ า เพื่อเป็นการ
ระบายน้ าในพื้นที่อยู่แล้ว ดังนั้น จึงไม่เป็นการปิดกั้นการเดินทางเพื่อวางไข่ของสัตว์น้ าตามที่หลายฝ่าย
เป็นกังวล ทั้งนี้ ในสภาพน้ าหลาก ปริมาณน้ าสามารถระบายผ่านประตูระบายน้ าไปได้โดยไม่ถูกกีด
ขวาง อีกทั้งในกรณีที่น้ าในทะเลหลวงสูงกว่าในคลองปากประ ประตูระบายน้ าปากคลองประจะท า
หน้าที่ร่วมกับประตูระบายน้ าปากคลองยวนและอาคารระบายน้ าริมทะเลหลวงอีก 6 แห่ง ในการ
ป้องกันน้ าจากทะเลหลวงไหลเข้ามาในพื้นที่ ดังนั้น นอกจากประตูระบายน้ าปากคลองประไม่เป็น
สาเหตุให้เกิดน้ าท่วมขังในพื้นที่แล้ว ยังจะช่วยป้องกันน้ าท่วมในพื้นที่ได้อีกทางหนึ่งด้วย
อย่างไรก็ตาม ประตูระบายน้ าคลองประตั้งอยู่ในคลองปากประ ห่างจากทะเลหลวงขึ้นมา
ทางด้านเหนือน้ าประมาณ 400 เมตร ซึ่งบริเวณปากคลองปากประจะมีลักษณะโค้ง จากระยะห่างและ
ลักษณะของล าน้ าดังกล่าว จึงไม่มีผลกระทบกับทัศนียภาพของแหล่งท่องเที่ยวยอยักษ์ในทะเลหลวง
อีกทั้งตัวประตูระบายน้ าปากคลองประ ถูกออกแบบโดยผสมผสานสถาปัตยกรรมท้องถิ่น เพื่อความ
สวยงามและกลมกลืนกับพื้นที่อย่างลงตัว สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวอีกแห่งของจังหวัดพัทลุง