Page 136 - kpi19910
P. 136

126






                      พลวัต :
                             ปี พ.ศ. 2555 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ส ารวจความเป็นไปได้ของโครงการ

                      ก่อสร้างโรงไฟฟ้ากระบี่ และท่าเรือน  าลึก รวมทั งเริ่มเปิดเวทีรับฟังความเห็นจากประชาชน กฟผ.
                      พยายามน าเข้าถ่านหินจากต่างประเทศ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ความขัดแย้ง เรื่องการก่อสร้างโรงไฟฟ้า
                      ถ่านหินกระบี่ส่อเค้ารุนแรงขึ น เมื่อมีการใช้ก าลังท าร้ายร่างกายและข่มขู่ประชาชนที่คัดค้านโครงการ
                      ในเวทีรับฟังความเห็น โครงการท่าเทียบเรือขนส่งถ่านหินบ้านคลองรั ว หลังจากนั นมีการน า

                      เครื่องจักรกลเข้าไปส ารวจพื นที่ น าไปสู่เผชิญหน้าระหว่างกลุ่มสนับสนุนกับกลุ่มคัดค้าน ในปี
                      พ.ศ. 2558 ตัวแทนเครือข่ายปกป้องอันดามันจากถ่านหิน 2 คน ตัดสินใจอดอาหารที่หน้ากระทรวง
                      การท่องเที่ยวและกีฬา เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลยกเลิกโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ หลังจาก

                      กฟผ.ประกาศเดินหน้ายื่นซองประกวดราคาโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ตัวแทนรัฐบาลเจรจากับ
                      เครือข่าย ให้หยุดโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน หยุดกระบวนการพิจารณารายงาน EHIA ของ
                      โรงไฟฟ้าและท่าเทียบเรือ และจัดตั งคณะกรรมการหลายฝ่ายเพื่อผลักดันการใช้พลังงานหมุนเวียนใน
                      จังหวัดกระบี่ ตัวแทนเครือข่ายปกป้องอันดามันจากถ่านหิน ทางกลุ่มผู้คัดค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินเดินไป
                      ยังท าเนียบรัฐบาล และใน ปี 2560 กพช. มีมติให้ด าเนินโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ ขณะที่

                      เครือข่ายปกป้องอันดามันจากถ่านหิน ยืนยันจะปักหลักชุมนุมคัดค้านบริเวณท าเนียบรัฐบาลและมีการ
                      เจรจาท าข้อตกลงร่วมกัน


                      ระดับความรุนแรง : มีความเสียหายต่อทรัพย์สินและร่างกายโดยมีผู้บาดเจ็บ

                      วิธีการแก้ไข :
                      กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ

                               1. การชุมนุมเพื่อร่วมสร้างแรงกดดันในการล้มเลิกการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน
                               2. การยุติการชุมนุมเนื่องมาจากการท าข้อตกลงร่วมกัน
                               3. การใช้เวทีประชาพิจารณ์เพื่อการพูดคุย แสดงความคิดเห็น ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


                      ปัจจัยที่จะสนับสนุนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง คือ
                               1. สิทธิชุมชนเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                               2. กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
                               3. สิทธิมนุษยชน


                      ผลกระทบที่เกิดขึ้น :
                               อาจส่งผลลกระทบต่อสภาวะสิ่งแวดล้อมในพื นที่ตั งโรงงาน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
                      การด ารงชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติในพื นที่


                      ที่มาของข้อมูล :
                               1. สัมภาษณ์ตัวแทนชาวบ้านในพื นที่
                                2. GREENPEACE 2012 “การสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน กฟผ.” สืบค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2561

                      จาก
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141