Page 135 - kpi19910
P. 135

125






                      หนังสือแสดงการสนับสนุนโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินจังหวัดกระบี่ ไปยังนายกรัฐมนตรีเพื่อแสดง
                      จุดยืนของพี่น้องประชาชนในพื นที่ที่เห็นด้วยกับการสร้างโรงไฟฟ้า

                               วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 ที่เกาะกลางถนนหน้าองค์การสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ถนนราช
                      ด าเนิน ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ตัวแทนกลุ่มผู้ชุมนุม เครือข่ายกระบี่-เทพา ปกป้องสองฝั่งทะเล หยุด
                      โรงไฟฟ้าถ่านหิน ที่เริ่มชุมนุมอดข้าวประท้วงมาตั งแต่วันที่ 12 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ได้หารือกับ
                      นายศิริ จิระพงษ์พันธ์ รมว.พลังงาน ปลัดกระทรวงพลังงาน ตัวแทนรัฐบาล กว่า 1 ชั่วโมง โดยเชิญ

                      แกนน าพร้อมตัวแทนการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) หารือร่วมกันภายในรถตู้กว่า 15 นาที
                      ก่อนจะลงนามความร่วมมือ หรือ เอ็มโอยู ร่วมกัน จากนั นจึงตั งโต๊ะแถลงข่าวร่วมกันทั งรมว.พลังงาน
                      และตัวแทนเครือข่ายกระบี่เทพา ประกาศยุติการชุมนุม ไม่เคลื่อนขบวนไปท าเนียบรัฐบาล เพื่อกดดัน

                      รัฐบาลตามนัดหมาย ขณะที่มวลชนต่างก็ทยอยเก็บข้าวของเพื่อเตรียมตัวกลับภูมิล าเนาทันที
                             ส าหรับบันทึกข้อตกลงมีทั งหมด 4 ข้อ มีสาระส าคัญคือ ให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศ
                      ไทย (กฟผ.) ถอนรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ หรือ EHIA โรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาและ
                      โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ฉบับใหม่ออกภายใน 3 วัน นับตั งแต่วันลงนาม และให้ กฟผ. ส่งหนังสือแจ้งการ
                      ถอนรายงานไปยังเครือข่ายทราบ พร้อมกันนี ให้กระทรวงพลังงานจัดท ารายงานการประเมินผลกระทบ

                      เชิงยุทธศาสตร์ (SEA) เพื่อศึกษาว่าพื นที่จังหวัดกระบี่และอ าเภอเทพาจังหวัดสงขลามีความเหมาะสม
                      ในการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน หรือไม่โดยต้องจัดท าโดยนักวิชาการที่มีความเป็นกลางที่ทั งสองฝ่าย
                      ยอมรับร่วมกัน หากผลการศึกษาที่คาดว่าโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินทั งสองพื นที่ไม่เหมาะสม กฟผ.

                      จะต้องยุติการด าเนินการนับตั งแต่วันลงนาม โดยการจัดท ารายงานจะต้องเสร็จสิ นภายใน 9 เดือน
                      นับแต่วันลงนาม ทั งนี หากผลการศึกษา SEA กระทบเชิงยุทธศาสตร์บ่งชี ว่าพื นที่มีความเหมาะสมใน
                      การสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินในขั นตอนการจัดท ารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจะต้องกระท า
                      โดยคนกลางที่ยอมรับร่วมกัน นอกจากนี ขอให้คดีความระหว่างกฟผ. และเครือข่ายเลิกแล้วต่อกัน


                      คู่ขัดแย้งหลักและจุดยืน :
                               1. ชาวบ้านต าบลเหนือคลองคัดค้านการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน ต้องการพลังงาน และต้อง
                      เป็นพลังงานสะอาด
                               2. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยให้เหตุผลการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินเพื่อเพิ่ม

                      กระแสไฟฟ้าที่มีการใช้อย่างมากในภาคใต้

                      ผู้เกี่ยวข้องอื่น :

                               1. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                               2. องค์การสหประชาชาติ หรือ UN ประจ าประเทศไทย
                               3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน

                               4. เครือข่ายปกป้องสองฝั่งทะเล กระบี่-เทพา
                               5. ต ารวจ


                      ระยะเวลา : มากกว่า 3 ปี (พ.ศ. 2557-2561)

                      สถานะ : ก าลังอยู่ระหว่างการแก้ไข
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140