Page 136 - kpi19164
P. 136

การด าเนินงานซึ่งท าให้รูปแบบการท างานของสหกรณ์นิคม ด าเนินการคล้ายกับสหกรณ์เครติดยู
                   เนี่ยน และสหกรณ์บริการมากขึ้น เพียงแต่แตกต่างกันในจุดก าเนิดในยุคแรกของการจัดตั้งสหกรณ์



                   5.3 ประเภทสหกรณ์ประมง: สหกรณ์ประมงพาน อ าเภอพาน จังหวัดเชียงราย


















                                                ภาพที่ 12 สหกรณ์ประมงพาน

                                                    ที่มา: จากการศึกษา


                       5.3.1 ประวัติ และการก่อตั้งสหกรณ์

                           อ าเภอพาน จังหวัดเชียงราย สภาพบริบทในชุมชนมีความเหมาะสมในการท าเกษตร พื้นที่
                   ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและที่ราบระหว่างภูเขา บรรยากาศภายในชุมชนจึงโอบล้อมไปด้วยธรรมชาติ

                   ล้อมรอบไปด้วยภูเขาและแหล่งน้ าตามธรรมชาติในชุมชน ท าให้สามารถบริหารจัดการน้ าและ

                   ทรัพยากรต่างๆ ที่มีได้อย่างเหมาะสม ในพื้นที่อ าเภอพาน เดิมประชาชนประกอบอาชีพการท านา
                   แต่เนื่องจากสร้างรายได้เพียงปีละครั้งและประกอบกับพื้นที่ในอ าเภอพานเป็นแปลงเพาะเลี้ยงปลา

                   นิลที่ดีโดยมีต้นน้ าคือ อ่างเก็บน้ าแม่สรวยและแม่ลาว แหล่งเก็บน้ าเพื่อการเกษตรที่น ามาใช้ในการ

                   เลี้ยงปลาจึงแบ่งที่นามาท าบ่อเลี้ยงปลานิล
                           นอกจากนี้ดินในอ าเภอพานสามารถเลี้ยงปลานิลให้มีรสชาติอร่อยและไม่มีกลิ่นคาว โดย

                   เลี้ยงปลานิลควบคู่กับการเลี้ยงสุกรและไก่ บนบ่อปลานิลเป็นอาชีพเสริม เมื่อเริ่มแรกเลี้ยงปลาไม่มี

                   ระบบตลาด มีปัญหาเรื่องของการตลาดยุคแรกๆ จะมีเอกชนอยู่ 2 ราย เป็นผู้รับซื้อ แต่ต่อมา
                   เนื่องจากมีเกษตรกรเริ่มหันมาเลี้ยงปลานิลมากขึ้น ท าให้มีปริมาณมากขึ้นแต่ความต้องการของตลาด

                   เท่าเดิมจึงท าให้เกษตรกรได้รับความเดือดร้อนเรื่องราคาปลาตกต่ า ถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง

                   ดังนั้น เกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิลจึงได้หาแนวทางที่จะแก้ไขปัญหาด้านราคาปลาตกต่ า โดยมี ดร.จรัล
                   ไชยองค์การ ซึ่งเป็นผู้เลี้ยงปลารายใหญ่ในอ าเภอพานและเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย จึงได้ชักชวนให้

                   เกษตรกรผู้เลี้ยงปลารวมตัวกันเป็นสหกรณ์ โดยชวนเกษตรกรที่สนใจให้มาร่วมประชุม และเชิญทาง


                                                           125
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141