Page 60 - kpi15860
P. 60
5 5
จากการเสียสละเพื่อส่วนรวมและการมีส่วนร่วมในการดูแลชุมชนของตนเอง ทำให้การมีส่วนร่วม อาเซียน และเพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ปกครองในการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษาระดับ
กับกิจกรรมอื่นๆ ของเทศบาลเป็นไปอย่างกระตือรือร้น นำไปสู่การรวมกลุ่มของประชาชนอย่าง ประถมศึกษาต่อไป
เข้มแข็งเพื่อดำเนินกิจกรรมที่สนใจร่วมกันถึง 27 กลุ่ม เช่น กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ กลุ่มกองบุญสัจจะ ในการดำเนินงานจัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลพนา มีขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้
สวัสดิการชุมชน ธนาคารขยะรีไซเคิลเพื่อพัฒนาชุมชน เป็นต้น
= จัดการศึกษาดูงานโรงเรียนอนุบาลต้นแบบเพื่อเป็นแนวทางการดำเนินโครงการ
นอกจากนี้ โครงการชุมชนปลอดถังขยะทำให้เทศบาลตำบลพนามีชื่อเสียงในเรื่องการมี
ส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการขยะและเป็นที่ยอมรับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ = จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาการศึกษาเทศบาลตำบลพนา ซึ่งประกอบด้วย
จนเป็นต้นแบบชุมชนปลอดถังขยะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอพนา และมีการจัดทำ ผู้บริหารเทศบาล ผู้อำนวยการโรงเรียน และผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อวางแนวทางการจัดตั้ง
บันทึกข้อตกลง (MOU) โครงการความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพนา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลพนา
จังหวัดอำนาจเจริญ ประกอบไปด้วยเทศบาลตำบลพนา เทศบาลตำบลพระเหลา องค์การบริหาร = จัดประชุมคณะกรรมการชุมชนทั้ง 5 ชุมชน เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและ
ส่วนตำบลพนา องค์การบริหารส่วนตำบลไม้กลอน องค์การบริหารส่วนตำบลจานลาน เพื่อดำเนิน ข้อเสนอแนะในการจัดตั้งโรงเรียน ซึ่งคณะกรรมการชุมชนได้มีมติเป็นเอกฉันท์ว่า
การจัดการขยะมูลฝอยรวมแบบมีส่วนร่วมและยั่งยืน
สมควรจัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลพนา
โรงเรียนอนุบาลสาธิตเทศบาลพนา
= จัดตั้งคณะกรรมการการจัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลพนา และทำการสำรวจ
ต้นทุนของชาวพนาคือ เป็นผู้มีการศึกษาดี เพราะได้มีการก่อตั้งโรงเรียนอุดมวิทยากรณ์ ความต้องการของชุมชน และเตรียมความพร้อมในเรื่องของอาคาร สถานที่ และคัด
ขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2440 เป็นโรงเรียนแห่งที่ 2 ของจังหวัดอุบลราชธานี (อำเภอพนาเดิมอยู่ในเขต เลือกครูที่มีคุณภาพจบปริญญาตรี สาขาวิชาเอกปฐมวัยโดยตรง
พื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี) ทำให้มีค่านิยมที่มีมาแต่ดั้งเดิมคือการให้บุตรหลานได้เรียนหนังสือ = การสำรวจความคิดเห็นประชาชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำประชาพิจารณ์
ในโรงเรียนดีๆ จนเมืองพนาได้รับสมญานามว่าเป็นเมืองนักปราชญ์มาจนถึงทุกวันนี้ ค่านิยมการ การจัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลพนา โดยการจัดชี้แจงเหตุผลและความจำเป็น
ส่งบุตรหลานเข้าเรียนต่อในโรงเรียนดีๆ ที่มีชื่อเสียงเป็นเหตุให้ลูกหลานต้องจากบ้านจากครอบครัว ในการจัดตั้งโรงเรียน พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นก่อนที่จะ
เพื่อไปศึกษาต่างอำเภอต่างจังหวัด เกิดปัญหาสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และเด็กอยู่ห่างไกลจากการดูแล มีการลงมติ ซึ่งผู้ได้ผลสรุปว่าประชาชนผู้มาเข้าร่วมการประชาพิจารณ์ ร้อยละ 96
ของผู้ปกครอง ทำให้ประชาชนตั้งคำถามกับเทศบาลว่าเหตุใดเทศบาลไม่มีโรงเรียนดีๆ เห็นด้วยในการจัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลพนา และเห็นว่าเทศบาลมีความ
ให้ลูกหลานได้เรียนใกล้บ้าน ให้สมกับที่เป็นเมืองนักปราชญ์ จนเป็นแรงบันดาลใจให้เทศบาลตำบล พร้อมในการดำเนินการ
พนาได้หารือกันในที่ประชุมสภาเทศบาล และลงความเห็นร่วมกันว่าเทศบาลตำบลพนาควรจะ
จัดการศึกษาสำหรับบุตรหลานขึ้นในท้องถิ่นของตนเอง และได้พิจารณาเห็นว่าสถานศึกษาที่จัดการ จากนั้นได้นำเสนอขอความเห็นชอบจากที่ประชุมสภาเทศบาลตำบลพนาซึ่งที่สภาเทศบาล
ศึกษาขั้นพื้นฐาน (ป.1 – ม.3) มีการจัดการศึกษาและมีคุณภาพอยู่แล้ว แต่เทศบาลยังไม่มี ได้มีมติเห็นชอบให้จัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลพนา และได้ดำเนินการตามขั้นตอน
สถานศึกษาในระดับปฐมวัย (กลุ่มอายุ 3 – 5 ปี) จึงมีความเห็นว่าจะต้องจัดตั้งโรงเรียนระดับ ขออนุมัติจัดตั้งโรงเรียนอนุบาล เพื่อเป็นการพัฒนาให้โรงเรียนก้าวสู่ความเป็นเลิศ เทศบาลตำบล
ปฐมวัยขึ้นเป็นสถานศึกษาอีกแห่งหนึ่งในสังกัดเทศบาลตำบลพนา เพื่อรับเด็กต่อจากศูนย์พัฒนา พนาได้ส่งบุคลากรเข้าอบรมตามโครงการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา และได้เชิญคณบดีคณะ
เด็กเล็กของเทศบาลตำบลพนา มาพัฒนาและเตรียมความพร้อมอย่างในทุกๆ ด้านอย่างสมดุล ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มาเป็นผู้ให้คำแนะนำ โดยพัฒนาให้เป็นโรงเรียน
ตามวัย เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและพร้อมที่จะก้าวสู่ประชาคม อนุบาลสาธิตร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนอนุบาล
สาธิตเทศบาลพนา
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57