Page 58 - kpi15860
P. 58
56 57
เทศบาลตามภารกิจหน้าที่เป็นผู้ประสานงานทุกชุมชน คอยให้คำแนะนำช่วยเหลือ คิดเป็นเงินงบประมาณจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นทุกปี ทำให้ขยะกลายเป็นปัญหา
โดยมอบหมายให้แต่ละกองงานรับผิดชอบแต่ละชุมชน สำคัญของเทศบาลตำบลพนา
= การมอบหมายภารกิจ ภายหลังการประชุมทำความเข้าใจและมีมติร่วมกันแล้ว จะมี ในปี พ.ศ 2551 เทศบาลตำบลพนาจึงได้ริเริ่ม “โครงการชุมชนปลอดถังขยะ” ขึ้น โดยมี
การมอบหมายภารกิจกระจายตามบทบาทหน้าที่ ความถนัดของบุคคล และให้กระจาย วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้และมีความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะอย่าง
ครอบคลุมพื้นที่ต่าง ๆ ให้ทุกคนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ครบวงจร และเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนให้เกิดจิตสำนึกในการรับผิดชอบปัญหา
ทุกกระบวนการ ร่วมกัน ในการดำเนินการโครงการชุมชนปลอดถังขยะเทศบาลตำบลพนาได้เริ่มต้นด้วยการประชุม
เพื่อชี้แจงและทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานของเทศบาลแก่ผู้นำชุมชน คณะกรรมการชุมชน
= การติดตามผลการดำเนินงาน มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานโดยจะมีการ อาสาสมัครสาธารณสุข และตัวแทนชุมชน แล้วจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการ
ประชุมรายงานผลร่วมกันระหว่างเทศบาลและชุมชน
ขยะมูลฝอยอย่างต่อเนื่อง จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้นำชุมชน คณะกรรมการชุมชน อาสาสมัคร
การใช้ทุนทางสังคมร่วมกับแนวทางการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมดังกล่าวเป็นกลไกในการ สาธารณสุข และตัวแทนชุมชน เกี่ยวกับการคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิดคือ จากครัวเรือนของ
ขับเคลื่อนการพัฒนาเทศบาลตำบลพนา ส่งผลให้โครงการและกิจกรรมต่างๆ ของเทศบาลตำบล ตนเอง และบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนแบบครบวงจร รวมทั้งนำถังขยะออกจากชุมชน
พนาสามารถดำเนินการได้เป็นอย่างดี เนื่องจากประชาชนที่ได้มีส่วนร่วมในทุกกระบวนการมีความ แม้ในระยะแรกของการดำเนินโครงการจะประสบปัญหาเรื่องความไม่เข้าใจและความร่วมมือ
รู้สึกเป็นเจ้าของ ผนวกกับได้ส่วนราชการที่มีอยู่ในพื้นที่ให้ความช่วยเหลือในด้านวิชาการส่งผล ของประชาชน แต่ด้วยทุนทางสังคมที่มีมาแต่เดิมที่ประชาชนถ้อยทีถ้อยอาศัยพูดคุยกันได้
ให้การพัฒนาเทศบาลมีความยั่งยืน ประกอบกับผลสำเร็จของโครงการที่ลดปริมาณขยะได้จริง สิ่งแวดล้อมภายในชุมชนดีขึ้น ทำให้
โครงการได้รับการยอมรับจากประชาชนและเข้ามามีส่วนร่วมทุกครัวเรือน ทำให้เทศบาลตำบลพนา
สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ
ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนของ เทศบาลตำบลพนา ได้แก่ เป็นชุมชนปลอดถังขยะ
เทศบาลตำบลพนายังคงดำเนินการโครงการชุมชนปลอดถังขยะมาจนถึงปัจจุบันนี้
โครงการชุมชนปลอดถังขยะ
ผลความสำเร็จของโครงการนอกจากทำให้ประชาชนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทิ้งขยะ ไม่มีถังขยะ
เทศบาลตำบลพนาแม้จะเป็นเทศบาลขนาดเล็กที่มีพื้นที่รับผิดชอบเพียง 2.8 ตาราง- ตั้งตามหน้าบ้านหรือริมถนน กลายเป็นวัฒนธรรมชุมชน ทำให้ชุมชนมีความสะอาดสวยงาม
กิโลเมตร มีจำนวนชุมชนทั้งสิ้น 5 ชุมชน ลักษณะชุมชนในปัจจุบันเป็นชุมชนที่มีประชากรอาศัยอยู่ ยังทำให้ปริมาณขยะลดลงจากก่อนดำเนินการที่มีขยะเฉลี่ยวันละ 2.8 ตัน หรือคิดเป็นจำนวน
อย่างหนาแน่น การดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชนก่อให้เกิดกิจกรรมต่างๆ มากมาย และผลที่ 1 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ลดลงเหลือวันละ 1.2 ตัน หรือคิดเป็นจำนวน 0.4 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน
ตามมาจากการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวได้ก่อให้เกิดปัญหาการทำลายสภาพแวดล้อมของชุมชน ค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะก็ลดลง จากเดิมต้องมีการขนย้ายขยะไปกำจัดทุกวัน ก็ลดลงเหลือเพียง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาด้านขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ครัวเรือนในเขตเทศบาลไม่มีระบบการ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง คือวันพุธและวันเสาร์ และเทศบาลยังประหยัดงบประมาณในการซื้อถังขยะ
คัดแยกขยะก่อนที่ทางเทศบาลจะทำการจัดเก็บขนย้ายไปทิ้ง ทำให้ปริมาณขยะมีมากจนบางครั้ง เนื่องจากประชาชนไม่เห็นความจำเป็นในการมีถังขยะอีกต่อไป อีกทั้งยังช่วยทำให้ชุมชนมีรายได้
เอ่อล้นถังลงมาเกลื่อนกลาดตามบาทวิถี ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน และเป็นทัศนียภาพที่ไม่ดี ประกอบกับ เพิ่มขึ้นจากการคัดแยกขยะรีไซเคิลขาย และการทำปุ๋ยชีวภาพจากขยะอินทรีย์
เทศบาลไม่มีพื้นที่ทิ้งขยะของตนเองต้องขนย้ายไปกำจัดที่เทศบาลเมืองอำนาจเจริญ ต้องเดินทางไป นอกจากความสำเร็จที่เห็นเป็นรูปธรรมแล้ว โครงการชุมชนปลอดถังขยะยังมีส่วนสำคัญ
กลับวันละประมาณ100 กิโลเมตร ซึ่งเกิดค่าใช้จ่าย ทั้งค่าขนย้าย ค่ากำจัดขยะ ค่าบุคลากรฯ ในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชนให้มากขึ้น เนื่องจากประชาชนได้ประจักษ์ถึงผลประโยชน์
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57