Page 246 - kpi15860
P. 246

2                                                                          2 5


 โครงการประกวดเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมย   ดังนั้น การจัดกิจกรรมดังกล่าวจึงเป็นการขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่อสร้างความมั่นใจว่าจะ
          ไม่มีเหตุการณ์ความขัดแย้งหรือความรุนแรงอันเนื่องมาจากความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรม
 การจัดงานประกวดเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมยหรือ เทศกาลกตัญญูคู่ฟ้ามหาสมโภชเจ้าแม่  ในพื้นที่ ในทางตรงกันข้ามการจัดกิจกรรมดังกล่าวเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ที่แตกต่างกันให้รวม
 ลิ้มกอเหนี่ยว ซึ่งเทศบาลเมืองปัตตานีร่วมกับมูลนิธิเทพปูชนียสถาน (ศาลเจ้าเล่งจูเกียง) ได้ดำเนิน  เป็นหนึ่งเดียวของอัตลักษณณ์ทางวัฒนธรรมของเมืองปัตตานี ในด้านการเป็นเมืองงามสาม
 การจัดติดต่อทุกปีและปีนี้เป็นปีที่ 7 ซึ่งงานเทศกาลดังกล่าวมีกิจกรรมที่น่าสนใจและแสดงออกถึง  วัฒนธรรม และเมืองน่าอยู่ ผู้คนมีความสัมพันธ์ที่ดีเข้าใจกันบนพื้นฐานความแตกต่างแต่

 ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ได้แก่ การแสดงรำวงย้อนยุค การแสดงมหรสพ อุปรากรจีน (งิ้ว)   ไม่แตกแยก เป็นจุดเชื่อมโยงให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าร่วมงานได้โดยไม่มีการแบ่งแยกทาง
 และมโนราห์ เพื่อสักการะเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว การหามเกี้ยวมหามงคล และหามองค์เจ้าแม่     เชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแข่งขันการเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมย
 ลิ้มกอเหนี่ยวในเกี้ยวใหญ่ที่สุดในประเทศ การแห่พระลงน้ำลุยไฟ นิทรรศการภาพถ่ายปัตตานียิ้ม   ที่เป็นการแข่งขันที่มีความแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่างประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย
 นิทรรศการประกวดภาพถ่าย ภาพยนตร์สั้น และการวาดภาพ โครงการแผ่นดินทอง การแสดงพลุ  ซึ่งเป็นการแข่งขันที่ส่งเสริมและช่วยสร้างภาพลักษณ์เรื่องการท่องเที่ยวของเมืองปัตตานี ให้เป็นที่
 สื่อผสมประกอบดนตรี 3 วัฒนธรรม  การออกร้านจำหน่ายอาหารพื้นเมืองโบราณ 3 วัฒนธรรม   รู้จักมากขึ้น และยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย

 การจำหน่ายสินค้า OTOP ชายแดนใต้  และการแข่งขันเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมย ชิงแชมป์ ไทย-  กล่าวได้ว่าเป็นกิจกรรมที่สร้างประโยชน์ให้แก่คนในพื้นที่ได้มีรอยยิ้ม ความสนุกสนาน อันเกิดจาก
 มาเลเซีย   การส่งเสียงเชียร์ ปรบมือ และการแสดงความชื่นชมในลีลา ความสามารถของคณะเชิดสิงโตได้
          มากขึ้นโดยใช้กิจกรรมทางประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม เป็นสื่อกลางในการเชื่อมความสัมพันธ์
 ความสำเร็จในการจัดงานดังกล่าวมาจากภาคส่วนหลัก ได้แก่ จังหวัดปัตตานี มูลนิธิ
 ปัตตานีสงเคราะห์ สมาคมไหหนำปัตตานี สมาคมฮากกาปัตตานี มูลนิธิโรงเรียนจ้องฮั้วปัตตานี   อันดีต่อกัน ที่สำคัญเป็นการส่งเสริมและอนุรักษ์ประเพณีงานสมโภชเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวให้ได้รับ
 มูลนิธิท่งเต็กเซี่ยงตึ๊งปัตตานี ชมรมชาวไทยเชื้อสายจีนจังหวัดปัตตานี คณะกรรมการมูลนิธิ     ความสนใจจากประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และต่างประเทศด้วย

 เทพปูชนียสถาน และเทศบาลเมืองปัตตานีร่วมกันติดต่อประสานงานคณะสิงโตจากประเทศไทย  ความโดดเด่นของการการจัดงานประกวดเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมยนั้นเป็นมิติที่สะท้อนให้
 และประเทศมาเลเซียให้เข้าร่วมงาน โดยมีทีมคณะสิงโตที่สมัครเข้าแข่งขัน ทั้งสิ้น 15 คณะ เป็น  เห็นถึงความกล้าหาญ และความพยายามในการจัดกิจกรรมโดยไม่มีการก่อเหตุสร้างสถานการณ์ใน
 คณะสิงโตจากประเทศมาเลเซีย จำนวน 4 คณะ และจากประเทศไทย จำนวน 11  คณะ หลังจากนั้น   การจัดงานสมโภชเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวในทุกปีที่ผ่านมา เป็นการนำเสนอมุมมองด้านดีของจังหวัด
 ได้มีการเชิญคณะกรรมการมูลนิธิเทพปูชนียสถาน และสมาคมชมรมชาวไทยเชื้อสายจีนจังหวัด  ชายแดนภาคใต้ที่คนไทยได้รับรู้แต่ข่าวสารของเหตุการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นเพียงด้านเดียว
 ปัตตานีเพื่อให้การจัดงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีการประชุมชี้แจงเรื่องกฎกติกาการแข่งขัน  ให้ได้เห็นกิจกรรมที่ทำให้ประชาชนในพื้นที่ให้ความสนใจเป็นจำนวนมาก แสดงให้เห็นภาพของ
 ระดับสากลในการเชิดสิงโต การจับฉลากลำดับที่การแข่งขันเพื่อความยุติธรรมโดยมีระยะเวลาใน  การดำรงชีวิตประจำวันอย่างปกติสุข ซึ่งเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้คนนอกพื้นที่ได้รับรู้ว่า
 การแข่งขันรวม 2 วัน ซึ่งในวันแรกจะเป็นรอบคัดเลือกเพื่อคัดทีมที่เข้ารอบไปแข่งในวันชิงชนะเลิศ  เมืองปัตตานีเป็นเมืองแห่งความสมานฉันท์ ความสงบและสันติสุขอย่างแท้จริง

 ในวันที่สอง
          โครงการอาสาสมัครพิทักษ์เมือง
 หลักการสำคัญของการจัดโครงการดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นเพื่อความสนุกสนานและความ
 บันเทิงเท่านั้น แต่ใจความสำคัญของการจัดงานดังกล่าวมีขึ้นเพื่อเสริมสร้างความสมานฉันท์และ  โครงการอาสาสมัครพิทักษ์เมือง (อส.พม.) อันเนื่องมาจากเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ
 สร้างสันติสุขให้แก่ประชาชน เพราะโดยปกติประชาชนในพื้นที่มักจะหลีกเลี่ยงการเข้าร่วมงานของ  ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้  ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 ที่สร้างความเสียหายทั้งชีวิตและ
 เทศบาลเมืองปัตตานี เพราะเกรงกลัวต่อเหตุการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นจากการจัดงานใหญ่ประจำปี    ทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่อย่างมาก โดยยึดแนวคิดว่า ปัญหาที่เกิดในท้องถิ่น ต้องแก้ไขได้
          โดยประชาชนในท้องถิ่นนั้นๆ เอง  เพราะเชื่อว่าการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่จะรู้และเข้าใจ


 รางวัลพระปกเกล้า’ 57                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 57
   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251