Page 237 - kpi15860
P. 237

2 6                                                                                                                                                       2 7


                       ทักษะที่จำเป็นต่อการทำงาน (Hard Side) ที่มีอยู่                                      หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 2 พิษณุโลก คณะเภสัชศาสตร์
                     -  แสวงหาเครื่องมือที่เป็นกลไกในการทำงาน ด้วยการไปศึกษาจิตวิวัฒน์ หรือ                 คณะพยาบาลศาสตร์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
                       จิตตปัญญาจาก สถาบันขวัญเมือง จังหวัดเชียงราย                                       -  จัดวงพูดคุยระหว่างเครือข่ายเดือนละครั้ง หมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพ เปิด
                     -  ศึกษาบริบทของเมือง                                                                  Face book เพื่อเป็นศูนย์กลางนัดหมายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เช่น

                     -  สร้างวิทยากร หรือที่เรียกว่ากระบวนกร 2 หลักสูตร หลักสูตรแรก “รู้ทัน                 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2556 ได้จัดวงพูดคุยในหัวข้อ “ร่วมกันส่งมอบประเทศ
                       หัวใจ ให้ทำงานอย่างมีส่วนร่วม” หลักสูตรที่สอง “สุนทรียสนทนา จิตตปัญญา                ไทยให้กับลูกหลานเรา”
                       เพื่อการจัดการความรู้ในตัวบุคคล”                                                   -  ส่วนของการสร้างเครือข่ายชุมชน เทศบาลได้จัดอบรมหัวข้อ “สุนทรียสนทนา
                                                                                                            ; ศาสตร์และศิลป์ของการหันหน้าเข้าหากัน” จำนวน 2 รุ่น ซึ่งชุมชนนำไปใช้
              2)  ขั้นดำเนินการ  แบ่งเป็นในระดับองค์กร ชุมชนและเครือข่าย
                                                                                                            ผ่านวงน้ำชา และวงเล่าเรื่อง นำร่องในการจัดการมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม

                  2.1) ในระดับองค์กร                                                                        ชุมชน
                     -  เทศบาลได้เปิดวงพูดคุย ผ่านโครงการเครือข่ายสุนทรียสนทนา จิตอาสา                    -  สมัชชาสุขภาพเทศบาลนครพิษณุโลก เป็นอีกกระบวนการหนึ่งที่มีส่วนร่วม
                       ทำความดีไม่ต้องมีใครบอก โครงการเสวนาส่งเสริมประชาธิปไตยอันมี                         3 ภาคส่วน คือ ภาคประชาชน ภาควิชาการ และภาคราชการ บนความแตกต่าง
                       พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข                                                          และการทำงานเป็นภาคีเครือข่ายอย่างบูรณาการ  94 องค์กร ยกระดับการมี
                     -  ดำเนินการขยายผลนำสู่กระบวนงานปกติ ของสำนักการสาธารณสุขและ                           ส่วนร่วมในขั้นสูงสุด คือ เป็นผู้วิเคราะห์ปัญหา ตัดสินใจ วางแผนและแก้ไข
                       สิ่งแวดล้อม สำนักการช่าง                                                             ลงมือทำ ซึ่งเครือข่าย สามารถของบประมาณเพื่อดำเนินการได้

                     -  จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้วงสานเสวนา เทศบาลนครพิษณุโลก ทุกวันพุธ                   -  กิจกรรมสามวัยเล่าเรื่อง เป็นการขยายผลการพูดคุย เพื่อสร้างความสัมพันธ์
                       มาตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2556 ถึงปัจจุบัน เป็นจำนวนมากกว่า 60 ครั้ง                     ระหว่างเด็กและเยาวชน วัยทำงานและวัยชรา ในการจัดกิจกรรมด้าน
                       หัวข้อที่พูดคุย มีหลายหัวข้อ เช่น รูปแบบของประชาธิปไตย  สำนึกพลเมือง                 สิ่งแวดล้อมในชุมชนร่วมกัน  ซึ่งประสบความสำเร็จได้รับรางวัล Zero
                       การจัดการความรู้  การประเมินตัวเอง ด้วย 4 H Learn How to learn                       Waste จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                       การพัฒนาตนเอง วิทยากรกระบวนการ (Facilitator) ความแตกต่างระหว่าง

                       Process กับ content พื้นที่ฝึกปัญญาปฏิบัติ เป็นต้น                           ความสำเร็จของการดำเนินงาน
                     -  สร้าง Blog ชื่อ Blog 1 phsmun.go.th และสร้าง Face book กลุ่ม                จากการดำเนินการผ่านโครงการดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรมมากมาย ใน
                       กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ Line ให้เป็นศูนย์ดำเนินงาน อำนวยการ    หลายมิติของการบริหารงานพัฒนาพื้นที่ของเทศบาลนครพิษณุโลก ดังนี้
                       แจ้งข่าวสาร นัดหมาย และเป็นกระดานสนทนาเชื่อมโยงกับ Blog
                                                                                                    1)  ด้านการพัฒนาองค์กร
                  2.2) ในระดับชุมชน/เครือข่าย
                     -  สร้างเครือข่าย เพื่อเป็นพันธมิตรในการสร้างสันติสุขของเมือง ประกอบด้วย         เทศบาลนครพิษณุโลก เกิดวงสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้สัปดาห์ละ 1 ครั้ง นำไปสู่การ

                       มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โรงพยาบาลพุทธชินราช     จัดตั้งทีมวิทยากรกระบวนกรในองค์กร ซึ่งประกอบไปด้วยบุคลากร 24 คน จากต่างกองต่างสำนัก
                       การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ฝ่ายปฏิบัติการภาคเหนือ สำนักงาน          เพื่อนำกระบวนการไปใช้ดำเนินการสร้างการมีส่วนร่วมทั้งในการสานเสวนาและการรับฟังความ
                                                                                              คิดเห็นของประชาชน ทั้งนี้ บุคลากรที่เข้าร่วมการเสวนามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีการพัฒนา

        รางวัลพระปกเกล้า’ 57                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 57
   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242