Page 236 - kpi15860
P. 236

2                                                                          2 5


 5.  การทำงานโดยใช้หลัก Area Function Participation มีการดำเนินงานที่ก้าวข้าม  การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การทำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีส่วนร่วม
 ภารกิจที่เป็นเพียงเพื่อการบำบัดทุกข์หรือการแก้ไขปัญหา ไปสู่การสร้างสรรค์ชีวิต และการเติมเต็ม  และบุคลากรในองค์กรทำงานอย่างมีความสุขนั้นเป็นเรื่องนามธรรม ในการดำเนินงานต้องมีความ
 ความเป็นมนุษย์ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยอาศัยการทำงานแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในพื้นที่     ศรัทธาและความเชื่ออย่างแท้จริงต่อการทำงานแบบบูรณาการ การทำงานอย่างมีส่วนร่วมของทุก
 บนหลักเข้าถึงในทุกกลุ่มเป้าหมาย   ภาคส่วน การยอมรับความแตกต่าง และมุ่งเน้นความสุขในการอยู่ร่วมกัน ซึ่งเป็นรูปแบบของการ

          แสวงหาทางออกในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาที่มีความยั่งยืน เทศบาลนครพิษณุโลก จึงได้
 6.  การเปิดพื้นที่การสร้างพลเมืองที่เหมาะสมกับระบอบประชาธิปไตย ทั้งในกลุ่มบุคลากร
 และประชาชนในพื้นที่และขยายผลไปยังเครือข่ายต่างๆ ในสังคม โดยดำเนินการสานเสวนาทั้งใน  ดำเนินโครงการนี้มาตั้งแต่ปี 2551 นับตั้งแต่สร้างทีมงาน แสวงหาเครื่องมือ นำมาออกแบบ และ
          ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับภาระงานต่างๆ ผ่านการลองผิดลองถูก ล้มลุกคลุกคลาน ท่ามกลาง
 รูปแบบการจัดวงพูดคุย และแบบผ่านระบบ Social Media ด้วยแนวคิดการจัดการความรู้ในยุค
 ดิจิตอล (Knowledge Management KM in Digital Age) เป็นศูนย์อำนวยการ เป็นกระดาน  ความไม่เข้าใจของผู้คนในองค์กร ในขณะที่บุคลากรมีทักษะและมีความสามารถในหน้าที่เฉพาะ
          ตำแหน่ง แต่ยังขาดทักษะในการเป็นวิทยากรกระบวนการ จึงมีความจำเป็นต้องมีการพัฒนา
 แลกเปลี่ยนในลักษณะ Virtual Dialogue เพื่อหลีกเงื่อนไข ข้อจำกัดเรื่องเวลาและภาระงาน

 ซึ่งเป็นการพัฒนาที่เปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ   บุคลากร เพื่อให้บุคลากรมีทักษะในการเป็นวิทยากรกระบวนการโดยใช้การสานเสวนาเป็น
          เครื่องมือ และวิธีการในการนำสังคมของการพูดคุยและแบ่งปันกลับคืนมา
 สำหรับโครงการหรือกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการเสริมสร้างสันติสุข
 และความสมานฉันท์ ของ เทศบาลนครพิษณุโลก ได้แก่      การดำเนินงาน

 โครงการสันติสุขสร้างเมือง   เทศบาลนครพิษณุโลก ได้ดำเนินโครงการสันติสุขสร้างเมือง ภายใต้การทำงานแบบ
          บูรณาการ การมององค์รวม  การทำงานแบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน  การยอมรับความ

 เมืองพิษณุโลก มีลักษณะเป็นสังคมเมือง มีการแข่งขันสูง ต่างคนต่างอยู่ ประชาชนมีความ  แตกต่าง  เน้นความสุขในการอยู่ร่วมกันและความสุขในการทำงาน  ผ่านการพูดคุยแบบสานเสวนา
 หลากหลายทั้งวิธีคิดวิถีชีวิต เชื้อชาติและวัฒนธรรม ปัญหาของเมืองใหญ่มีความยุ่งยากซับซ้อน  หรือ Dialogue
 และส่งผลกระทบต่อผู้คนในวงกว้าง และในหลายๆ  ครั้งที่ส่งผลให้เกิดปัญหาตามมาอีกมากมาย    ทั้งนี้ การสานเสวนา หรือ Dialogue เป็นเพียงเครื่องมือ หากนำไปใช้กับการจัดการความรู้

 นอกจากนี้ ยังต้องทำงานกับองค์กรต่างๆ ซึ่งมีภารกิจหน้าที่หลากหลายตามบทบาทและอำนาจ  สานเสวนาก็เป็นส่วนหนึ่งของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้  Knowledge Sharing ถ้าเป็นการทำงาน
 หน้าที่ตามโครงสร้างส่วนราชการที่กฎหมายกำหนดไว้  ฉะนั้น การทำงานร่วมกันท่ามกลางภารกิจ    แบบมีส่วนร่วมก็ต้องใช้สานเสวนาซึ่งเป็นพื้นฐานการทำงานแบบมีส่วนร่วม ในการรับฟังความ
 ที่มีจำนวนมาก ความคิดเห็นแตกต่างกัน แต่ต้องเดินไปสู่เป้าหมายเดียวกัน ดังนั้นการหันหน้า    คิดเห็น (Public Hearing) การประชาเสวนาหาทางออก (Deliberation) เพื่อหาฉันทามติ โดยใช้
 เข้ามาปรึกษาหารือของคนในองค์กร ชุมชน   หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  จึงเป็นจุดเริ่มต้นและ     การสานเสวนาเป็นเครื่องมือ ซึ่งมีขั้นตอนกระบวนการอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ ดังนี้
 มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะทำให้การทำงานในแต่ละภารกิจดำเนินไปได้อย่างราบรื่น บรรลุ
 เป้าหมายที่วางไว้  ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญในการทำงานและยิ่งหากสามารถขยายไปสู่การทำงานแบบมี     1)  ขั้นเตรียมดำเนินการสร้างทีมงาน - เริ่มตั้งแต่ปี 2551  เทศบาลนครพิษณุโลก
 ส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน นำไปสู่การสร้างสังคมที่น่าอยู่และเข้มแข็ง และหลายๆ ภารกิจไม่สามารถ  ใช้กระบวนการสานเสวนาเป็นเครื่องมือสร้างสังคมสันติสุข

 ดำเนินการได้ หากปราศจากการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ดังนั้น การสื่อสาร เพื่อให้เกิดการ        -  สร้างทีมงาน เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล และพบว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้
 พูดคุยอันจะนำไปสู่การเรียนรู้ซึ่งกันและกันตลอดจนทำความเข้าใจยอมรับ และเคารพในความ  ความศรัทธาและความเชื่อของเทศบาลเป็นจริง คือ บุคลากรของเทศบาล
 แตกต่างของแต่ละบุคคล นับว่าเป็นโจทย์สำคัญสำหรับเทศบาลนครพิษณุโลก   ที่ต้องพัฒนาจิตใจภายใน  (Soft Side) เพื่อเสริมด้านความรู้ความสามารถ



 รางวัลพระปกเกล้า’ 57                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 57
   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241