Page 230 - kpi15860
P. 230

22                                                                         22


 หลายๆ ฝ่าย นอกจากนี้แล้วประชาชนยังสามารถติดตาม ตรวจสอบการดำเนินการตามแผนพัฒนา  หมอกควันและไฟป่า และประชาสัมพันธ์ให้กับทุกหมู่บ้านทราบโดยผ่านผู้นำหมู่บ้าน และแจ้งในที่
 ตำบล การใช้จ่ายงบประมาณ ผลการดำเนินงานจากเอกสารประชาสัมพันธ์ซึ่งติดประกาศใน  ประชุมประจำเดือนของสมาชิกสภา อบต. หรือ มาตรการที่ 2 ป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าอย่าง
 หมู่บ้าน อบต.แม้ฟ้าหลวง หรือสามารถสอบถามไปยังเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง   เข้มข้น โดยแต่ละหมู่บ้านได้จัดประชุมประชาคม เพื่อร่วมกันแสดงความเห็นเกี่ยวกับมาตรการ
          ป้องกันไฟป่า เช่น หมู่ที่ 17 บ้านห้วยน้ำขุ่น (นางจินตนา  นาควิเชตร ผู้ใหญ่บ้าน) ได้นำเสนอว่า
 โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่า
          หากพบว่ามีการเผาและไม่ปฏิบัติตามกฎของหมู่บ้าน มีการปรับเป็นเงิน 5,000 ถึง 10,000 บาท
 ปัญหาหมอกควันและไฟป่า เป็นปัญหาที่พบเห็นได้โดยทั่วไปในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน   เป็นต้น
 และมักเกิดขึ้นบ่อยครั้งในฤดูหนาวที่อากาศแห้งแล้ง สำหรับในพื้นที่ตำบลแม้ฟ้าหลวงก็ประสบกับ  จากการดำเนินโครงการนี้กล่าวได้ว่า หากไม่ได้รับความร่วมมือจากประชาชน หน่วยงาน

 ปัญหาดังกล่าวเช่นกัน โดยเฉลี่ยแล้วใน 1 ปี พบว่ามีไฟป่าเกิดขึ้นประมาณ 100 ครั้งแต่ก็สามารถ  องค์กรในพื้นที่ต่างๆ ปัญหาไฟป่าจะไม่ทุเลาลง ซึ่งจากสถิติหลังจากมีการจัดตั้ง กอ.ร่วม พบว่า
 ดับได้โดยไม่มีปัญหา จนกระทั่งในปี 2550 ไฟป่าได้ทวีความรุนแรง เกิดในหลายจุดพร้อมกัน      ตัวเลขความเสียหายลดลงอย่างเห็นได้ชัด คือ จากเดิม เฉลี่ย 63 ครั้งต่อปี ในช่วงปี 2540 – 2550
 เจ้าหน้าที่ไม่สามารถดับไฟได้ทัน จนไฟได้ลามไปจนเกือบถึงเขตพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง   เหลือเพียง 22 ครั้งต่อปี ในช่วงปี 2551 – 2557 นับว่าเป็นการผนึกกำลัง การร่วมมือ ประสานงาน
 (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตั้งแต่นั้นมาจึงนับว่าเป็นจุดเปลี่ยนจุดเริ่มต้นครั้งสำคัญ  กัน จึงทำให้ปัญหาไฟป่าลดลง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
 ที่หลายภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น อบต.แม้ฟ้าหลวง ทหาร ตำรวจ อำเภอ ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำ  และที่สำคัญประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้นตามไปด้วย
 ท้องที่ โครงการพัฒนาดอยตุง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใกล้เคียง ได้ร่วมกันประชุมจัดทำ

 แผนการป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่าเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน พร้อม  โครงการดอกบัวขาวสดใส ใส่ใจสุขภาพ
 ประชาสัมพันธ์ จัดทำประกาศขอความร่วมมือในการป้องกัน ควบคุมหมอกควัน ไฟป่า ให้  เดิมประชาชนส่วนใหญ่ไม่มีสัญชาติไทย ส่งผลให้ไม่ได้รับสวัสดิการต่างๆ ทั้งการศึกษา
 ประชาชนในหมู่บ้าน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อการบูรณาการร่วมกัน มีจัดตั้งกองอำนวยการ
 ร่วม (กอ.ร่วม) ซึ่งประกอบด้วยขึ้น อบต.แม้ฟ้าหลวง ทหาร ตำรวจ อำเภอ ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำท้องที่   สาธารณสุข การประกอบอาชีพ เมื่อไม่มีการศึกษา ก็ไม่มีอาชีพ และไม่มีรายได้ แต่เพื่อให้รอดพ้น
          จากความยากจน หญิงสาวส่วนใหญ่จึงเข้าสู่ธุรกิจโคมเขียว หรือการขายบริการทางเพศในเมือง
 โครงการพัฒนาดอยตุง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใกล้เคียง โดยจะแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ ดูแล  ใหญ่ เพื่อหารายได้เลี้ยงครอบครัว เป็นผลให้ในปี 2536 มีผู้ติดเชื้อ HIV เป็นจำนวนมาก และ

 ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้การดำเนินการตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน  เริ่มขยายตัวในวงกว้างมากขึ้น มีผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตจำนวนมาก หลายหมู่บ้านต้องสร้างเตาเผา
 ที่อาจเกิดขึ้นเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและทันต่อเหตุการณ์ เช่น เมื่อผู้ใดพบเห็นไฟป่า ประชาชน  เพิ่มเพราะมีชาวบ้านเสียชีวิตรายวัน
 ในหมู่บ้าน หน่วยงานใดอยู่ใกล้พื้นที่นั้นต้องรีบเข้าไปดำเนินการดับไฟก่อน แต่หากประเมินแล้ว
 ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ไว้ได้ ก็จะเรียกสมาชิกซึ่งเป็นกองอำนวยการร่วมที่อยู่ใกล้เคียง  ดังนั้น อบต.แม่ฟ้าหลวง จึงร่วมกับพัฒนาชุมชน สถานีอนามัย โรงพยาบาลแม่จัน
 เข้าไปช่วยดับไฟ จนกระทั่งสามารถควบคุมสถานการณ์ได้     จัดโครงการดอกบัวขาวสดใส โดยจัดตั้ง “กลุ่มดอกบัวขาว” ในปี พ.ศ 2553  มีสมาชิกทั้งหมด
          59 คน โดยสมาชิกกลุ่มจะเป็นผู้กำหนดโครงสร้าง กฎเกณฑ์ เหมือนกลุ่มทางสังคม แต่กฎเกณฑ์
 นอกจากนี้ อบต.แม่ฟ้าหลวง ยังได้จัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ด้านการ  ต่างๆ ทางสมาชิกกลุ่มเป็นคนกำหนดเองภายใต้บริบทของกลุ่ม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประชาชน
 ป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน กับนายอำเภอแม่ฟ้าหลวง ตามมาตรการป้องกันและ  มีทัศนคตที่ดีกับผู้ติดเชื้อ และผู้ติดเชื้อได้รับการดูแล ให้คำแนะนำอย่างถูกต้องเหมาะสมในเรื่อง
 แก้ไขปัญหามลพิษจากหมอกควันภาคเหนือ 9 จังหวัด ตามหลักการ 2P2R ประกอบด้วย      อาหาร อาหารเสริม การปฏิบัติตัว การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ และเพื่อให้ผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อได้รับ
 8 มาตรการ อาทิ มาตรการที่ 1 ห้ามไม่ให้มีการเผาช่วง 100 วันอันตราย (21 มกราคม 2556 ถึง   ความเห็นใจจากชุมชน สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุข ซึ่งกล่าวได้ว่าผู้ที่ได้รับ
 30 เมษายน 2556) โดยอบต.แม่ฟ้าหลวง ได้มีประกาศขอความร่วมมือในการป้องกันและควบคุม


 รางวัลพระปกเกล้า’ 57                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 57
   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235