Page 221 - kpi15860
P. 221
220 221
โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ “เพื่อนช่วยเพื่อน” ของตนเองที่ทำประโยชน์เพื่อส่วนร่วม และยังทำให้การดำเนินงานโครงการสามารถเข้าถึงกลุ่ม
เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย
ด้วยอัตราการพัฒนาพื้นที่ในตำบลพลูตาหลวงที่ก้าวเข้าสู่สังคมเมือง ทำให้มีผู้สูงอายุ
ประมาณร้อยละ 40 ของประชากรทั้งหมด โดยองค์การบริหารส่วนตำบลพลูตาหลวง ขยายฐาน การดำเนินโครงการดังกล่าวได้ใช้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายผ่าน
ของประชากรที่จัดอยู่ในวัยผู้สูงอายุไว้ที่ 50 เพื่อเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์สำหรับคนกลุ่มนี้ รูปแบบของคณะกรรมการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากชมรมผู้สูงอายุ และ
โดยเฉพาะก่อนคนกลุ่มนี้จะเข้าสู่วัยผู้สูงอายุจริงในวัย 60 ปี โดยหากนับตามเกณฑ์ขององค์การ ตัวแทนที่มาจากแต่ละหมู่บ้าน โดยกิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุสัปดาห์ละครั้งนั้น เป็นการปฏิบัติ
บริหารส่วนตำบลจะทำให้มีผู้สูงอายุในพื้นที่ประมาณ 3,000 คนซึ่งถือเป็นจำนวนมาก จึงเกิด งานร่วมกันระหว่างอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ
โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (เพื่อนช่วยเพื่อน) ซึ่งมาจากการต่อยอดมาจากชมรมผู้สูงอายุ (อผส.) ซึ่งการลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในโครงการแต่ละครั้ง อผส.จะมีความรู้ที่ได้รับจาก
ตำบลพลูตาหลวง ด้วยการตระหนักถึงปัญหาของผู้สูงอายุบางกลุ่มที่ไม่สามารถมาเข้าร่วมกิจกรรม การอบรมเพื่อทำหน้าที่ปฐมพยาบาล การวัดไข้และเช็ดตัว การทำแผลทั่วไป ความรู้เรื่องการบริหาร
ของกลุ่มผู้สูงอายุในตำบลได้ ทั้งปัญหาเรื่องสุขภาพก็ดี ฐานะยากจนก็ดี ภาระทางครอบครัวก็ดี ร่างกาย และการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมภายในบ้านให้กับผู้สูงอายุในโครงการ
ล้วนแล้วแต่ทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลพลูตาหลวงพัฒนาโครงการดูแลผู้สูงอายุขึ้นมาจากฐาน ความน่าสนใจของกิจกรรมดังกล่าวคือ นอกจากกิจกรรมเชิงสาธารณสุขที่ อผส. ซึ่งเป็น
คิดของการมีจิตอาสาเข้าไปดูแล พบปะพูดคุยและช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีปัญหาได้ กลุ่มผู้สูงอายุจะเข้าไปปฏิบัติเท่านั้น แต่ยังรวมถึงกิจกรรมทางศาสนาและสันทนาการที่ อผส.
สามารถทำได้และเป็นที่ยอมรับของผู้สูงอายุในโครงการด้วย เช่น การนำสวดมนต์ การร้องเพลง
โครงการอาสาสมัครเพื่อนช่วยเพื่อนจึงเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2552 โดยองค์การบริหาร
ส่วนตำบลพลูตาหลวงเป็นหน่วยให้การสนับสนุนกิจกรรมต่างๆของโครงการนี้ ทั้งการจัดตั้งและ และเต้นรำตามวัฒนธรรมพื้นบ้าน ผลที่ตามมาคือ ผู้สูงอายุในโครงการมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
งบประมาณดำเนินงาน โครงการดังกล่าวยังประสานการทำงานร่วมกับโรงพยาบาลสัตหีบ กม.10 ร้อยละ 70 โดยประเมินจากแบบสอบถามจากการดำเนินงาน นอกจากนั้น โครงการดังกล่าว
อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ในการให้ความรู้เรื่องการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน โดยเฉพาะผู้ป่วยติดเตียง ยังทำให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการต่างๆจากหน่วยงานของรัฐมากขึ้นอย่างเหมาะสม และที่สำคัญคือ
ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ โดยในปีแรกของการดำเนินโครงการนี้ได้ผลิตจิตอาสาที่มาจาก ผู้สูงอายุที่เป็น อผส. มีความภาคภูมิใจในคุณค่าของตัวเองจากการทำงานเพื่อส่วนร่วม
ความสมัครใจในรุ่นที่ 1 จำนวน 20 คนสำหรับการดูแลผู้สูงอายุ 100 คน นอกจากความร่วมมือ สำหรับการเป้าหมายของโครงการที่องค์การบริหารส่วนตำบลพลูตาหลวงต้องการพัฒนาต่อ
ที่ได้รับจากโรงพยาบาลในฐานะที่เป็นหน่วยความรู้การสาธารณสุขโดยตรงแล้ว โครงการนี้ยังได้รับ คือการเพิ่มจำนวนอาสาสมัครของโครงการด้วยการขยายไปยังกลุ่มเยาวชนให้เข้ามาร่วม
ความช่วยเหลือในการทำงานแบบบูรณาการจากภาคเอกชนซึ่งเป็นร้านขายทองในพื้นที่เข้ามา ในโครงการในปี พ.ศ.2558 ภายใต้โครงการ “อาสาสมัคร 2 วัย” ดูแลห่วงใยผู้สูงอายุและ
ประสานงานและลงพื้นที่ดูแลผู้สูงอายุด้วย ผู้ด้อยโอกาส ผ่านการทำงานร่วมกับสภาเด็กและเยาวชนพลูตาหลวง เพื่อปลูกฝังให้เด็กและ
เยาวชนมีสำนึกในการทำประโยชน์ให้กับชุมชนตนเอง และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ปัจจุบันโครงการดังกล่าวมีอาสาสมัครจำนวน 35 คน สำหรับ สำหรับการดูแลผู้สูงอายุที่
อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย 210 คน โดยวัตถุประสงค์หลักของโครงการที่นอกจากจะให้ความช่วยเหลือ โครงการถนนเด็กเดิน
แก่ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้แล้ว ยังต้องการฟื้นฟูศักยภาพของผู้สูงอายุให้รู้สึกว่าตนเองมี
คุณค่า และที่สำคัญคือการพัฒนาความสามารถของจิตอาสาของโครงการซึ่งส่วนหนึ่งก็เป็นกลุ่มคน โครงการถนนเด็กเดินมาจากความร่วมมือระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลพลูตาหลวง
สูงอายุให้เข้ามาดูแลกลุ่มคนวัยเดียวกัน ด้วยเชื่อว่าเพื่อนย่อมเข้าใจเพื่อนได้ง่ายกว่า ผลที่ตามมา และสภาเด็กและเยาวชนตำบลพลูตาหลวง ซึ่งมาจากคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสภาเด็กและ
คือโครงการนี้สามารถทำให้อาสาสมัครซึ่งเป็นผู้สูงอายุบางส่วนพัฒนาความสามารถและเห็นคุณค่า เยาวชนตำบลพลูตาหลวงโดยองค์การบริหารส่วนตำบลพลูตาหลวง เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ให้กับเด็ก
และเยาวชนทั้งในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง และกลุ่มเด็กที่อยู่ในและนอกระบบการศึกษามีโอกาส
รางวัลพระปกเกล้า’ 57 รางวัลพระปกเกล้า’ 57