Page 26 - kpi12821
P. 26
ณรงค์เดช สรุโฆษิต
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทที่ 7 ปัญหาการยุบพรรคการเมืองเพราะเหตุฝ่าฝืนกฎหมายเลือกตั้ง 243
1. หลักเกณฑ์การยุบพรรคการเมืองด้วยเหตุกระทำผิดกฎหมายเลือกตั้ง 245
2. ข้อควรพิจารณา 249
2.1 เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ: เพื่อแก้ไขปัญหาการซื้อสิทธิ์ขายเสียง 249
อันเป็นปัญหาเรื้อรังในระบบการเมืองไทย
2.2 ลักษณะเฉพาะของพรรคการเมืองไทย 250
2.3 กฎหมายต่างประเทศ 251
3. บทวิเคราะห์วิจารณ์การใช้และการตีความเหตุยุบพรรคข้อนี้ 251
3.1 การวินิจฉัยให้พรรคการเมืองต้องรับผิดในการกระทำที่อยู่ในขอบ 251
วัตถุประสงค์ของนิติบุคคลมิได้ขัดต่อหลักกฎหมายทั่วไป
3.2 การสั่งยุบพรรคการเมืองด้วยเหตุฝ่าฝืนกฎหมายเลือกตั้งนั้น 254
ไม่สอดคล้องกับหลักความได้สัดส่วน
3.3 การตีความให้กรรมการบริหารพรรคมีความรับผิดในการกระทำ 257 (2 )
ของบุคคลอื่นโดยไม่อาจโต้แย้งเป็นอย่างอื่นได้นั้น ไม่สอดคล้องกับ
หลักความรับผิดเฉพาะบุคคลผู้กระทำ
3.4 การเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งโดยไม่พิจารณาข้อเท็จจริงเป็นการเฉพาะราย 262
ไม่สอดคล้องกับหลักความเสมอภาค
3.5 การตีความให้มีผลเป็นการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งกรรมการบริหาร 264
พรรคการเมืองทุกคน ขัดต่อหลักความได้สัดส่วน
3.6 การตีความให้คำวินิจฉัยของ กกต. เป็นที่สุด และมีผลผูกพัน 266
การวินิจฉัยคดียุบพรรคการเมืองของศาลรัฐธรรมนูญขัดต่อหลักการ
แบ่งแยกอำนาจ
3.7 ศาลรัฐธรรมนูญเลือกใช้นิติวิธีการตีความรัฐธรรมนูญที่ไม่เหมาะสม 274
3.8 การเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งโดยไม่คำนึงถึงข้อเท็จจริงเฉพาะราย 280
ไม่สอดคล้องกับแนวบรรทัดฐานของพันธกรณีระหว่างประเทศ
ที่ประเทศไทยเป็นภาคี
4. บทวิเคราะห์ความเหมาะสมของการกำหนดให้มีเหตุยุบพรรคการเมืองข้อนี้ 281
4.1 ความไม่เหมาะสมในด้านหลักการ 281
4.2 ความไม่สอดคล้องกับบริบทการเมืองไทย 286