Page 21 - kpi12821
P. 21
แนวทางปรับปรุงกฏหมายเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมือง
สารบัญ
เรื่อง หน้า
3.2 การยุบพรรคการเมืองกรณีกระทำผิดร้ายแรงตามมาตรา 94 25
3.3 ผลของการยุบพรรคการเมืองต่อผู้บริหารและบุคคลทั่วไป 27
4. ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการสิ้นสภาพและ 29
การยุบพรรคการเมือง
5. สถิติการยุบพรรคการเมือง 30
บทที่ 2 สภาพปัญหาหลักของการยุบพรรคการเมืองไทย 35
1. ปัญหาของการยุบพรรคการเมืองที่มีต่อระบบพรรคการเมืองและ 36
ระบบการเมืองไทย
1.1 การยุบพรรคการเมืองมีผลเป็นการลดทอนความหลากหลาย 36
ทางการเมืองในสังคมไทย
1.2 การยุบพรรคการเมืองเท่ากับเป็นการปิดกั้นโอกาสในการมีส่วนร่วม 38
ทางการเมืองโดยตรงของประชาชนในฐานะผู้สมัคร ส.ส.
(20) 1.3 การยุบพรรคการเมืองเป็นการทำลายตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างรัฐ 40
กับประชาชน
1.4 การยุบพรรคการเมืองเป็นการทำลายโอกาสที่พรรคการเมืองไทย 41
จะพัฒนาไปสู่การเป็นสถาบันในระบบการเมือง
1.5 การยุบพรรคการเมืองกลายเป็นชนวนบ่มเพาะปัญหาความขัดแย้ง 44
ทางการเมืองในสังคมไทยในระยะที่ผ่านมาให้ลุกลามบานปลายยิ่งขึ้น
2. ปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญและการละเมิดพันธกรณีระหว่างประเทศ 48
ด้านสิทธิมนุษยชนของการยุบพรรคการเมือง
2.1 การควบคุมตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติ 48
เกี่ยวกับการยุบพรรคการเมือง
2.2 พันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี 51
และบทบัญญัติเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมือง
2.3 ปัญหาเชิงหลักการที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญและกฎหมาย 55
2.4 ปัญหาจากการใช้และการตีความบทบัญญัติรัฐธรรมนูญและกฎหมาย 57
3. ปัญหาเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมและยุบพรรคการเมือง 58
3.1 การขาดมาตรการที่เหมาะสมในการควบคุมพรรคการเมือง 58
หรือไม่นำมาตรการที่มีอยู่แล้วมาใช้บังคับ
3.2 การขาดมาตรการทางกฎหมายที่จะทำให้การยุบพรรคการเมือง 60
เกิดสภาพบังคับอย่างแท้จริง