Page 83 - kpiebook67033
P. 83
สถ�บันพระปกเกล ้ �
King Prajadhipok’s Institute
ภ�คผนวก
ภ�คผนวก 1 เครื่องมือและเกณฑ์ก�รคำ�นวณคะแนนตัวชี้วัดประช�ธิปไตย
จากกรอบแนวคิดตัวชี้วัดประชาธิปไตยในมิติต่าง ๆ ข้างต้น คณะผู้วิจัยจึงได้รวบรวม
และพัฒนาตัวชี้วัดที่เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย ประกอบด้วย 7 มิติหลัก โดยมีขั้นตอน
การดำาเนินการดังนี้
ขั้นที่ 1 การพิจารณาความสอดคล้องของข้อคำาถาม
ต้องพิจารณาความหมายของคำาถาม ควรมีทิศทางเดียวกัน คือ ความหมายเชิงลบ หรือ เชิงบวก
ทั้งหมด แต่หากพบว่าคำาถามมีความหมายในเชิงลบและเชิงบวกผสมกัน ต้องมีการกลับคะแนน
เพื่อให้มีทิศทางเดียวกันทั้งหมด โดยในการศึกษาครั้งนี้มีการกลับคะแนนจากความหมายเชิงลบ
(-) เป็นความหมายเชิงบวก (+) ดังนี้
ด�นหลักก�รบริห�รและธรรม�ภิบ�ล
้
ตัวชี้วัดหลัก 1) การเคารพสิทธิ เสรีภาพและหน้าที่
ตัวชี้วัดย่อย 1.1) เสียสละเพื่อส่วนร่วม
1.2) เสียภาษี
1.3) มีสิทธิที่เท่าเทียม
1.4) ยอมรับฟังความเห็นผู้อื่น
1.5) ได้รับการคุ้มครองสิทธิ
1.6) มีเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูล
ไม่เห็นด้วย ค่อนข้าง ค่อนข้าง เห็นด้วย ไม่สามารถ หมายเหตุ
คำาถาม เลย ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย อย่างยิ่ง ตอบได้
(1) (2) (3) (4) (0) (+/-)
1. ท่านคิดว่าทุกคนเต็มใจที่จะเสียสละเวลา (+)
เพื่อประโยชน์ส่วนรวมทุกครั้งเมื่อมีโอกาส
2. ท่านคิดว่าทุกคนมีความเต็มใจที่จะ (+)
เสียภาษีเสมอ
3. ท่านคิดว่าทุกคนไม่ว่าจะรวยหรือจนได้รับ (+)
การดูแลจากรัฐบาลอย่างเท่าเทียมกัน
81