Page 173 - kpiebook65066
P. 173

101






                       คุณภาพ (3) สงเสริม/ทํานุบํารุงศาสนา วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของทองถิ่นและ (4) สงเสริม/
                       สนับสนุนการกีฬา และนันทนาการ โดยมียุทธศาสตร 4 ยุทธศาสตร ไดแก ยุทธศาสตรที่ 1
                       ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการศึกษา (กลยุทธการพัฒนาการศึกษาศูนยพัฒนาเด็กเล็ก กลยุทธการ
                       พัฒนาดานผูดูแลเด็ก และบุคลากรดานการศึกษา กลยุทธการสนับสนุนการบริหาร และจัดการศึกษา

                       ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย) ยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรการพัฒนาดานกีฬา และ
                       นันทนาการ (กลยุทธการพัฒนาและสงเสริมดานกีฬา กลยุทธการพัฒนา และสงเสริมกิจกรรม
                       นันทนาการ) ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรการพัฒนาดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและ
                       ภูมิปญญาทองถิ่น (กลยุทธการพัฒนาสงเสริม ทํานุบํารุง ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี

                       กลยุทธการสงเสริมและพัฒนาแหลงเรียนรู ภูมิปญญาทองถิ่น) และยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนาดาน
                       การบริหารและการพัฒนาองคกร (กลยุทธการพัฒนาปรับปรุงเครื่องมือ เครื่องใชอาคารสถานที่
                       กลยุทธการพัฒนาดานเทคโนโลยี สารสนเทศที่จําเปนในการปฏิบัติงาน) (เทศบาลตําบลเสิงสาง,
                       2564c)

                                     3) สถานศึกษา ในเขตพื้นที่เทศบาลมีสถานศึกษารวม 4 แหง ไดแก
                                            (3.1) สถานศึกษาสังกัดเทศบาลตําบลเสิงสาง จํานวน 1 แหง ไดแก
                       ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตําบลเสิงสาง

                                            (3.2) สถานศึกษาในสังกัดอื่นๆ จํานวน 4 แหง ไดแก (1) โรงเรียนชุมชน
                       บานเสิงสาง โรงเรียนทาวสุรนารี (2521) (2) โรงเรียนเสิงสาง (3) โรงเรียนอนุบาลสกุลจิตร และ (4)
                       โรงเรียนโรงเรียนภูริตา

                              ๓.5.4 บริบทดานความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา

                                     ในปจจุบัน เทศบาลตําบลเสิงสางไดมีการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย มีการสนับสนุน
                       งบประมาณดานการศึกษาใหกับสถานศึกษาในเขตเทศบาลตําบลเสิงสาง เพื่อสนับสนุนอาหาร
                       กลางวันแกเด็กตามที่รัฐบาลสนับสนุน

                                     อยางไรก็ตามในป 2565 เทศบาลตําบลเสิงสางไดทําการสํารวจภาวะการศึกษาของ
                       เยาวชน อายุ 16 – 18 ป ภายในเขตเทศบาลตําบลเสิงสางใน 9 ชุมชน พบวามีจํานวนเยาวชนทั้งสิ้น
                       328 คน มีเยาวชนที่ไดรับการศึกษาตอจํานวน 289 คน คิดเปน 89 % และมีเยาวชนที่ไมไดรับ
                       การศึกษาตอจํานวน 39 คน  คิดเปน 11 % ซึ่งสามารถจําแนกไดเปน 4  กลุม ไดแก กลุมที่ไมได

                       เรียนตอเพราะขาดทุนการศึกษา จํานวน 20 คน กลุมที่ไมไดเรียนตอเพราะแตงงานมีครอบครัว
                       จํานวน 10 คน  กลุมที่ไมไดเรียนตอ และไมไดอาศัยอยูในพื้นที่จํานวน 5 คน และกลุมที่ไมตองการ
                       ศึกษาตออีกจํานวน 4 คน
                                     สําหรับกลุมเยาวชนที่ไมไดศึกษาตอ เทศบาลเสิงสางยังไมมีระบบการชวยเหลือ

                       เยาวชนในกลุมดังกลาว ดังนั้นเทศบาลตําบลเสิงสาง จึงไดพัฒนาโครงการพัฒนาระบบ และชวยเหลือ
                       ดานการศึกษาแกเยาวชนที่อยูนอกระบบการศึกษา เทศบาลตําบลเสิงสางขึ้นมา เพื่อชวยเหลือดาน
                       การศึกษาแกเยาวชนที่ไมไดศึกษาตอ
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178