Page 167 - kpiebook65066
P. 167

95






                       ประดับดิน บุญขาวสาก ประเพณีถวายเทียนพรรษาเขาพรรษา โดยมีภูมิปญญาทองถิ่น ไดแก การจัก
                       สาน ปราชญชาวบาน สวนภาษาที่ใชเปนสวนมากในพื้นที่ตําบลนาพู คือ ภาษาอีสานและภาษากลาง
                       มีสินคาพื้นเมือง และของที่ระลึก ไดแก ไขไกไอโอดีน น้ําตาลโตนดแปรรูป สินคาจักสานตางๆ
                       (องคการบริหารสวนตําบลนาพู, 2565, น. 8 - 9)

                                     ๕) สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ การคมนาคมที่ใชในตําบลนาพูเปนการ
                       คมนาคมโดยรถยนตเปนหลักซึ่งสามารถติดตอกับตําบลตางๆ โดยมีเสนทางคมนาคมที่สําคัญ คือ ทาง
                       หลวงแผนดินหมายเลข 2 (อุดรธานี - หนองคาย) เปนเสนทางที่เชื่อมการติดตอกับอําเภอสระใคร
                       จังหวัดหนองคายกับอําเภอเมืองอุดรธานี ระยะทาง 24 กิโลเมตร ประชาชนในเขตองคการบริหาร

                       สวนตําบลนาพูมีไฟฟาใชในทุกครัวเรือน มีครัวเรือนที่ใชนําประปาจํานวน 2,461 ครัวเรือน
                       (65.1%) โดยหนวยงานเจาของประปา ไดแก องคการบริหารสวนตําบลนาพู

                              ๓.4.3 บริบทดานการจัดการการศึกษา

                                     1) ดานหนวยงาน และบุคลากร องคการบริหารสวนตําบลนาพูมีหนวยงานที่
                       รับผิดชอบดานการศึกษาโดยตรง ไดแก งานสงเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม งานศูนยพัฒนา
                       เด็กเล็ก และงานกิจการโรงเรียน ภายใตการดูแลของสํานักปลัด (องคการบริหารสวนตําบลนาพู,

                       มปป.) โดยมีบุคลากรที่เกี่ยวของกับการศึกษาจํานวน 19 คน
                                     2) ดานนโยบาย ในดานการจัดการศึกษา จากแผนพัฒนาทองถิ่น 5 ป ขององคการ
                       บริหารสวนตําบลนาพู (พ.ศ. 2561 - 2565) นโยบายดานศึกษาจะปรากฏอยูในยุทธศาสตรที่ 5
                       ไดแก ยุทธศาสตรดานประชาชนมีการศึกษาตลอดชีวิต โดยมีเปาประสงคเพื่อสงเสริม และพัฒนา
                       ระบบการศึกษาในสังกัดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พัฒนา และเตรียมบุคลากรดานการศึกษา

                       และมีกลยุทธ 4 กลยุทธ ไดแก กลยุทธที่ 1 โรงเรียนในพื้นที่ไดรับการสนับสนุนอาหารกลางวัน
                       อาหารเสริมนม กลยุทธที่ 2 ศูนยพัฒนาเด็กไดรับการสนับสนุนอาหารกลางวัน อาหารเสริมนม
                       รวมทั้งพัฒนาอาคารสถานที่ และระบบบริหารจัดการ กลยุทธที่ 3 เด็กและเยาวชนไดรวมกิจกรรม

                       อยางเหมาะสมเทาเทียมกันและกลยุทธที่ 4 ประชาชนสามารถเขาถึงการศึกษานอกระบบใกลบาน
                       นอกจากนี้ประเด็นเรื่องการพัฒนาดานการศึกษา ยังปรากฏอยูในยุทธศาสตรอื่น ๆ อาทิ ยุทธศาสตรที่
                       4 ดานประชาชนไดรับบริการที่ดี ทั่วถึง เปนธรรม กลยุทธที่ 5 สงเสริมการศึกษา กีฬา และ
                       นันทนาการ (องคการบริหารสวนตําบลนาพู, 2560, น. 27 - 30) ในสวนของโครงการ และ

                       งบประมาณ ในชวงป พ.ศ. 2561 – 2565 องคการบริหารสวนตําบลไดกําหนดโครงการในแผนงาน
                       ดานการศึกษาไวจํานวน 13 โครงการ (3.7%) งบประมาณ 47.300 ลานบาท (6.1%) (องคการ
                       บริหารสวนตําบลนาพู, 2560)
                                     สําหรับแผนการดําเนินงานปงบประมาณ 2565 องคการบริหารสวนตําบลนาพูมี

                       โครงการในแผนงานการศึกษา 9 โครงการ งบประมาณ 2.009 บาท ไดแก โครงการจัดงานวันเด็ก
                       โครงการฝกอบรมระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวของกับผูดูแลเด็กเล็ก โครงการพัฒนาคุณลักษณะที่พึง
                       ประสงคปฐมวัยศูนยพัฒนาเด็กเล็ก โครงการสนับสนุนคาใชจายในการจัดการศึกษาสําหรับศูนย
                       พัฒนาเด็กเล็ก คาเครื่องแบบนักเรียน คากิจกรรมพัฒนาผูเรียน คาจัดการเรียนการสอน คาหนังสือ

                       เรียน คาอุปกรณการเรียน โครงการสนับสนุนคาใชจายการบริหารสถานศึกษาเพื่อจายเปนคาอาหาร
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172