Page 187 - kpiebook65021
P. 187
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
4) ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน ภูมิใจมีถนนหลวงตัดผ่านมีความสะดวกสบาย มีถนน
ที่ดีขึ้น มีถนนลาดยาง และมีไฟส่องสว่างข้างทาง มีไฟฟ้าเข้าถึง
5) ความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ ภูมิใจคนในพื้นที่มีความรักสามัคคีกัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ อยู่ร่วมกันแบบ
พี่น้อง มีความสัมพันธ์กันแบบครอบครัวใหญ่มากกว่าสังคมเมือง
6) กลุ่มองค์กรในพื้นที่ ภูมิใจกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันดูแลปัญหายาเสพติด
มีกลุ่ม OTOP ได้รับการคัดเลือกเป็นศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน จังหวัดจันทบุรี เมื่อ พ.ศ. 2560
7) วัฒนธรรมและภูมิปัญญา ภูมิใจมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของคนในพื้นที่ วิถีชีวิต ศาลเจ้าพ่อหินตั้ง
วัดวังทอง
ตำรำง 6.65 ข้อมูลร้อยละความภูมิใจในปัจจุบันต่อพื้นที่ อ าเภอเขาคิชฌกูฏ
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
1 การประกอบอาชีพ 27 31.40
2 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 18 20.93
3 การท่องเที่ยวและสถานที่ส าคัญ 17 19.77
4 ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 8 9.30
5 ความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ 5 5.81
6 กลุ่มองค์กรในพื้นที่ 3 3.49
7 วัฒนธรรมและภูมิปัญญา 3 3.49
8 คุณภาพชีวิต 2 2.33
9 การท างานของหน่วยงานในพื้นที่ 1 1.16
10 สุขภาพ 1 1.16
11 การพัฒนาโดยชุมชนพื้นที่ 1 1.16
6.10.3 อนำคตจังหวัดจันทบุรีที่ต้องกำรจะเห็นในอีกห้ำปีข้ำงหน้ำ
จากค าถามที่ว่า “อีก 5 ปีข้างหน้า ท่านอยากเห็นพื้นที่ของท่านเป็นอย่างไร” พบว่า ผู้ให้ข้อมูล
อยากเห็นในอีก 5 ปีข้างหน้าในพื้นที่ของตน โดยได้มีการให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าถามดังกล่าว
14 ประเด็นด้วยกัน ทั้งนี้ 7 ประเด็นแรกที่ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
1) การประกอบอาชีพ อยากเห็นผลไม้ราคาดีขึ้น มีผลผลิตที่ดีขึ้นทุกปี มีการพัฒนาการเกษตร มีการ
สนับสนุนด้านราคา ส่งเสริมการส่งออกผลผลิตการเกษตร ไม่มีการเอาเปรียบกัน มีพืชชนิดอื่น นอกจากผลไม้
และพัฒนาอาชีพอื่น ๆ นอกจากการปลูกผลไม้
2) ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน อยากเห็นความเจริญในเรื่องคมนาคม มีการสัญจรที่ดี
มีถนนลาดยาง ถนนคอนกรีต เป็นถนนที่มีคุณภาพ ถนนมีไฟส่องสว่างตลอดทาง ลดปัญหาฝุ่น ลดปัญหา
162