Page 141 - kpiebook65021
P. 141
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
8 การพัฒนาด้านความทันสมัยและเทคโนโลยี 6 4.96
9 พื้นที่สาธารณะ 4 3.31
10 ความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ 3 2.48
11 การศึกษา 3 2.48
12 ยาเสพติด/อบายมุข 3 2.48
13 กลุ่มองค์กรในพื้นที่ 2 1.65
14 ความสะอาด ภูมิทัศน์ 2 1.65
15 งบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 1.65
16 การท างานของหน่วยงานในพื้นที่ 1 0.83
17 ภัยธรรมชาติ ภัยพิบัติ ภัยจากสัตว์ป่า ภัยอื่น ๆ 1 0.83
18 การพัฒนาโดยชุมชนพื้นที่ 1 0.83
19 เด็ก เยาวชน และคนรุ่นใหม่ 1 0.83
20 ผู้สูงอายุ 1 0.83
6.5.5 อนำคตจังหวัดจันทบุรีที่ต้องกำรจะเห็นในอีกยี่สิบปีข้ำงหน้ำ
จากค าถามที่ว่า “อีก 20 ปีข้างหน้า ท่านอยากเห็นพื้นที่ของท่านเป็นอย่างไร” พบว่า ผู้ให้ข้อมูล
อยากเห็นในอีก 20 ปีข้างหน้าในพื้นที่ของตน โดยได้มีการให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าถามดังกล่าว
20 ประเด็นด้วยกัน ทั้งนี้ 7 ประเด็นแรกที่ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
1) ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคมสะดวก รวดเร็วขึ้น พัฒนาถนนทุกสาย
เป็นถนนลาดยาง/คอนกรีต มีการคมนาคมที่หลากหลาย สนามบิน มีระบบขนส่งที่ใช้พลังงานสะอาด เพื่อใช้
เวลาในการขนส่งสินค้าได้ตามก าหนดถึงปลายทางอย่างมีคุณภาพ มีระบบสาธารณูปโภคที่สมบูรณ์
มีน้ าประปาใช้ทุกครัวเรือน มีเน็ตไร้สาย ตลอดจนสายไฟลงดิน ชุมชนเพิ่มการใช้โซลาร์เซล พัฒนา
สวนสาธารณะในพื้นที่ และมีเส้นทางจักรยาน
2) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อยากเห็นพื้นที่สีเขียว สิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น อนุรักษ์ให้มีพื้นที่สีเขียว
ธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งผลิตอาหารระดับจังหวัดและระดับโลก ไม่อยากให้มีโรงงาน
3) การประกอบอาชีพ เกษตรกรมีเครื่องจักรเข้ามาช่วยในการท าการเกษตร น าเทคโนโลยีมาใช้
ยกระดับคุณภาพการเกษตร ผลผลิตมีคุณภาพเพิ่มขึ้น สินค้าเกษตรได้เกรดพรีเมี่ยม เพื่อการส่งออกที่เพิ่มมากขึ้น
มีโรงงานแปรรูปผลผลิตการเกษตร เพื่อการเก็บรักษา เพิ่มมูลค่าของผลผลิต ผลผลิตการเกษตรเป็นอินทรีย์
ราคาภาคการเกษตรไม่ตกต่ า ประชาชนทุกคนมีงานท า
116