Page 138 - kpiebook64008
P. 138
ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน 400 คน ซึ่งเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปรากฏผลดังตารางที่ 5.7-5.9
ตารางที่ 5.7 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (n=400)
ระดับความคิดเห็นในการตัดสินใจ
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ มาก ร้อยละ ปาน น้อย รวม
ที่สุด มาก ร้อยละ กลาง ร้อยละ น้อย ร้อยละ ที่สุด ร้อยละ (ร้อยละ)
คุณลักษณะและคุณสมบัติผู้สมัครเลือกตั้ง
เพศ 24 6.04 64 16.12 117 29.47 63 15.87 129 32.5 100
อายุ 39 9.77 96 24.06 162 40.6 49 12.28 53 13.3 100
ระดับการศึกษา 148 37 144 36 77 19.25 18 4.5 13 3.25 100
เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงและประสบการณ์ทางการเมืองเช่นเป็น
อดีตนักการเมืองอดีตผู้น าท้องถิ่นหรือมีชื่อเสียงในสังคม 57 14.25 118 29.5 166 41.5 40 10 19 4.75 100
สังกัดพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมืองเดียวกับนายก 46 11.6 95 23.9 168 42.2 50 12.6 39 9.8 100
องค์การบริหารส่วนจังหวัด นายก อบจ.
มาจากตระกูลการเมืองในพื้นที่ 33 8.3 61 15.3 127 31.8 92 23.1 86 21.6 100
ผู้สมัครต้องสังกัดพรรคการเมือง 40 10.05 82 20.6 159 39.95 61 15.33 56 14.07 100
ผู้สมัครเป็นกลุ่มการเมืองท้องถิ่น 39 9.8 85 21.4 168 42.2 67 16.8 39 9.8 100
ผู้สมัครเป็นผู้สมัครอิสระ 42 10.53 88 22.06 184 46.12 59 14.79 26 6.5 100
นโยบายของพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมืองในการหาเสียง 178 44.5 118 29.5 82 20.5 16 4 6 1.5 100
ผู้สมัครมีความเชื่อมโยงกับพรรคการเมืองเดียวกันกับ ส.ส.
ในพื้นที่ 49 12.3 97 24.3 166 41.6 53 13.3 34 8.5 100
รูปแบบและวิธีการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง
รถหาเสียง(รถแห่) 51 12.8 79 19.8 136 34.1 75 18.8 58 14.5 100
การปราศรัยหาเสียง 100 25 141 35.3 106 26.5 37 9.3 16 4 100
โครงการศึกษาการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น ปี 2563: การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ 117