Page 4 - kpiebook63021
P. 4
คำนำ
สถาบันพระปกเกล้า
นับเป นเวลากว่า 2 ทศวรรษที่ประเทศไทยได้ขับเคลื่อนการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
อย่างเป นรูป รรม ภายหลังจากการประกาศใช้รัฐ รรมนู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
จนถ งปัจจุบัน ได้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายกับการปกครองท้องถิ่นไทย โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการยกฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นข ้นเป นเทศบาลและการให้อำนาจอิสระแก่
พื้นที่หลายประการ นับเป นจุดเริ่มต้นสำคั ของการพัฒนาเมืองในประเทศไทย เพื่อให้รัฐ
เป นกลไกในการตอบสนองความต้องการของประชาชนและสามารถแก้ไขปั หาในพื้นที่
ได้อย่างทันท่วงที อันนำมาสู่คุณภาพชีวิตและความเป นอยู่ที่ดีข ้นของประชาชน หากแต่
บริบททางสังคมได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร ว การพัฒนาเมืองของไทยกลับประสบปั หาใน
หลายประการ ไม่ว่าจะเป นปั หาการบริหารจัดการเมือง ปั หาเมืองโตเดี่ยว เกิดการกระจุกตัว
และการรวมศูนย์ของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสา ารณูปโภคและสา ารณูปการในเมือง
สิ่งเหล่านี้ล้วนเป นความท้าทายของการพัฒนาเมืองอย่างยิ่งที่จะต้องหันกลับมาให้ความสำคั
กับการพัฒนาเมืองในระดับท้องถิ่น โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป นกลไกหลัก
ในการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองตั้งแต่ระดับพื้นที่ให้สามารถบริหารจัดการเมืองได้อย่างทั่วถ ง
และมีประสิท ิภาพ เพื่อทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตและความเป นอยู่ที่ดีข ้น
สถาบันพระปกเกล้า ในฐานะหน่วยงานที่มีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนาประชา ิปไตย
จ งมีความมุ่งมั่นให้ความสำคั กับประเด นเรื่องการพัฒนาประชา ิปไตยท้องถิ่นและ
การกระจายอำนาจ ด้วยเชื่อว่า การพัฒนาประชา ิปไตยในระดับท้องถิ่นมีความสำคั มาก
สำหรับการปูทางไปสู่รากฐานการพัฒนาในระดับประเทศ อีกทั้งยังเป นหมุดหมายสำคั ที่จะ
ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างกว้างขวาง โดยผ่านกลไกองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ซ ่งเป นหน่วยงานในพื้นที่ที่ทำงานใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด อีกทั้ง
ยังเป นกลไกสำคั ที่มาจากประชาชน ดำเนินกิจการสา ารณะเพื่อประชาชน และกำกับดูแล
โดยประชาชนอย่างแท้จริง
สถาบันพระปกเก ้า III