Page 122 - kpiebook63012
P. 122
122 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดพะเยา
แผนภูมิที่ 7 แสดงสัดส่วนของคะแนนเสียงการเลือกตั้งฯ พ.ศ. 2562 แบบแบ่งเขตเลือกตั้งที่ 1
จังหวัดพะเยา
นายธรรมนัส พรหมเผ่า
53% นางสาวศิริเวศน์ มหาวรรณศรี
0%
นายจํารอง พ��งสุข นายโชคภาดล พรหมโน
1% 0%
นายภูวนัย เครือน่าน
Other 0%
2%
นายภูวดล ศรีเนียน นางสาวชญาพิชญ์ พวงมาลัย นายศฤงคาร ข่ายสุวรรณ์
17% 0% นายวิศิษฎ์ สุปรียาพร 0%
0%
ด.ต.เจริญ เทพมา
นางสาวอรุณี ชํานาญยา
0%
22% นายเชษฐวรศิลป์ ใฝ่ใจ
0%
ร.ท. อํานวย วรรณมณี นายภูวดล ศรีเนียน นายทักษิณ กีรติศักดิ�วรกุล นายชวนันทร์ เสธา นางทัศนีย์ สมธิ
นายชนแดน กุลปัญญา นางสาวอรุณี ชํานาญยา นาย�พรัตน์ เสมอเชื�อ นายอนุพงษ์ มาคํา นายฉัตรชัย ใจเย็น
นายดลธรรม ธรรมเดช นายธนาพัฒน์ เผ่าแก้ว นางสาวธนิตา ชัยวร นางสาวธนพร เจนใจ นายธรรมนัส พรหมเผ่า
นายธวัชชัย รัตนพัทธยากร นายปรัชญา สะท้านพายัพ นางสาวนงนภัส ปัญญาวงศ์ นายศฤงคาร ข่ายสุวรรณ์ นายวิศิษฎ์ สุปรียาพร
ด.ต.เจริญ เทพมา นายเชษฐวรศิลป์ ใฝ่ใจ นางสาวชญาพิชญ์ พวงมาลัย นายจํารอง พ��งสุข นางสาวศิริเวศน์ มหาวรรณศรี
นายโชคภาดล พรหมโน นายภูวนัย เครือน่าน
ดังนั้น เมื่อเทียบกับผลการเลือกตั้งฯ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 การที่นางสาวอรุณี ได้รับคะแนน
ลดลงเหลือร้อยละ 20.98 (ดังแผนภูมิที่ 7) โดยประเด็นดังกล่าวคณะผู้วิจัยเห็นว่า ส่วนหนึ่งเป็นผลจากตัวบุคคล
ในการย้ายพรรคของนายธรรมนัส ซึ่งเคยเป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
แบบบัญชีรายชื่อของพรรคเพื่อไทย สู่การเป็นผู้สมัครในเขตเลือกตั้งที่ 1 ของพรรคพลังประชารัฐ โดย
นายธรรมนัส พรหมเผ่า ถือว่าเป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับทั้งการเลือกตั้งระดับชาติและการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น
แม้จะไม่เคยเป็นผู้สมัครในการเมืองท้องถิ่น แต่ก็เป็นผู้มีสายสัมพันธ์ที่ดีกับข้าราชการท้องถิ่นในจังหวัดพะเยา
จำานวนมาก รวบถึงบทบาทด้านสังคมและกีฬาผ่านการสนับสนุนมูลนิธิธรรมนัสพรหมเผ่า นายกสมาคม
ชาวพะเยา นายกสมาคมกีฬาพะเยา และประธานสโมสรฟุตบอลพะเยาเอฟซี ซึ่งการย้ายพรรคของนายธรรมนัส
ได้ส่งผลให้ฐานคะแนนเสียงของพรรคเพื่อไทยบางส่วนเปลี่ยนมาสนับสนุนพรรคพลังประชารัฐ โดยเฉพาะ
ในกลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มผู้นำาท้องถิ่นและผู้นำาชุมชน
นอกจากนี้ กระแสของการจัดตั้งพรรคการเมืองใหม่ เช่น กรณีพรรคอนาคตใหม่ก็เป็นปัจจัยอย่างหนึ่ง
ที่ทำาให้คะแนนเสียงของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง ในกลุ่มประชากรวัย 27 – 36 ปี ในการสนับสนุนนางสาวอรุณีหายไป