Page 4 - kpiebook63001
P. 4
ในการเลือกตั้ง พฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนและกลุ่มการเมือง การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในเรื่องค่าใช้จ่าย การเปลี่ยนแปลงของขั้วอำนาจทางการเมือง การย้ายพรรคการเมือง ปัจจัยที่ส่งผล
ต่อการตัดสินใจทางการเมือง รวมทั้งการวิเคราะห์ผลการเลือกตั้งที่เกิดขึ้น การเคลื่อนไหวและการรณรงค์
ในการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัดที่ปรากฏในสื่อออนไลน์ ตลอดจนประเด็นอื่น ๆ ที่น่าสนใจที่ปรากฏขึ้นมา
ในช่วงระหว่างการมีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้มีการเลือกตั้ง วันเลือกตั้ง และหลังการเลือกตั้ง
สถาบันพระปกเกล้าขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ฐปนรรต พรหมอินทร์ รองศาสตราจารย์ พรชัย
เทพปัญญา รองศาสตราจารย์ ดร.สามารถ ทองเฝือ รองศาสตราจารย์ ดร.กตัญญู แก้วหานาม
รองศาสตราจารย์ ดร.ศิวัช ศรีโภคางกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.บูฆอรี ยีหมะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร ตันศิริคงคล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา พรรณราย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพงศ์ บุญเหลือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ศุทธิกานต์ มีจั่น ดร.พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม ดร.พิสมัย ศรีเนตร ดร.จันทรา ธนะวัฒนาวงศ์ ดร.ภคพร
วัฒนดำรง ดร.ประเทือง ม่วงอ่อน ดร.ณรินทร์ เจริญทรัพยานนท์ ดร.เสริมสิทธิ์ สร้อยสอดศรี อาจารย์
ชนันทิพย์ จันทรโสภา อาจารย์ อุบลวรรณ สุภาแสน อาจารย์ ดารารัตน์ คำเป็ง ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน
ที่ให้ความอนุเคราะห์ร่วมดำเนินงานวิจัย ขอขอบพระคุณทรงคุณวุฒิทุกท่านที่กรุณาเป็นผู้พิจารณาให้ข้อเสนอ
แนะเพื่อให้งานวิจัยมีคุณภาพ สถาบันพระปกเกล้าคาดหวังว่าผลจากการศึกษาของชุดโครงการวิจัยนี้
จะเป็นฐานข้อมูลสำคัญที่จะนำไปสู่การพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทยต่อไป
สถาบันพระปกเกล้า
2563
การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดร้อยเอ็ด