Page 75 - kpi8470
P. 75
ความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบและความเป็นไปได้
ปัญหาคลองท่าแพ แนวทางการดำเนินงาน กิจกรรมและพื้นที่ดำเนินการ
5. คุณภาพน้ำในคลอง ได้แก่ 5. จัดหาเครื่องจักร ลอกคลอง 5. เปิดเวทีชาวบ้าน(ต้นน้ำถึง
น ้ ำ เ ส ี ย จ า ก โ ร ง ง า น ส่วนที่ตื้นเขิน และขยาย ป ล า ย น ้ ำ ) แ ล ะ ท อ ด
อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส ถ า น คลองให้กว้างขึ้น แบบสอบถามโดยชุดปฏิบัติ
ประกอบการ และครัวเรือน 6. กันเขตคลองป้องกันการรุก การของ ตชด.
ที่ปล่อยลงคลอง, จากสาร ล้ำลำน้ำ 6. นักสืบสายน้ำ เฝ้าระวัง
เคมีที่ใช้ในการเกษตร, น้ำ 7. เพิ่มพื้นที่สีเขียว คุณภาพน้ำ โดยสถาบันการ
ขุ่นข้น ศึกษาริมคลองตลอดสาย
6. น้ำน้อยในช่วงหน้าแล้ง 7. การปรับปรุงภูมิทัศน์ให้
สวยงาม โดยมีเจ้าของพื้นที่
เป็นผู้รับผิดชอบ เป็นการ
ส่งเสริมการท่องเที่ยวและ
ทำให้เมืองน่าอยู่ ประชาชน
เกิดความรักและหวงแหน
ท้องถิ่น
8. อนุรักษ์พันธุ์ปลา (ปลาหุด)
2. คณะทำงานด้านกายภาพ
คณะทำงานด้านกายภาพ ได้เริ่มการทำงานโดยการประชุมร่วมกันของฝ่ายช่างจาก
12 อบต. และ 1 เทศบาล ร่วมกับกรมชลประธาน กรมป่าไม้ และกรมที่ดินซึ่งเป็นส่วนที่ให้
ความสนับสนุนด้านวิชาการและข้อมูลที่มีอยู่เดิม ซึ่งทุกภาคส่วนจะเข้ามาร่วมให้ข้อมูลจริง
และสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น จากนั้นคณะทำงานจะลงพื้นที่เพื่อทำการสำรวจสภาพความเป็น
จริงเพื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีอยู่ การสำรวจจะเป็นการสัมภาษณ์ข้อมูลต่างๆ จากผู้เฒ่า
ผู้แก่ในพื้นที่ เช่น เมื่อก่อนลำคลองแต่ละคลองมีสภาพเป็นอย่างไร มีทิศทางการไหลของน้ำ
อย่างไร ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้ถือว่าเป็นข้อมูลที่มีความสำคัญมาก และบางครั้งอาจจะไม่ตรงกับ
ข้อมูลที่เราได้จากส่วนราชการทั้งหมด ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจทำให้คณะทำงานทราบว่ามี
สถาบันพระปกเกล้า