Page 235 - kpi23788
P. 235
1) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดเชียงราย
2) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดเชียงใหม่
3) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดแม่ฮ่องสอน
4) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดลำปาง
5) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดลำพูน
6) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดพะเยา
7) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดน่าน
8) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดแพร่
9) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดตาก
10) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดอุตรดิตถ์
11) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดกำแพงเชร
12) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดสุโขทัย
13) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดพิจิตร
14) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดนครสวรรค์
15) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดเพชรบูรณ์
16) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดพิษณุโลก
17) ศูนย์อำนวยการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน จังหวัดอุทัยธานี
6.2.8 กรุงเทพมหานคร
เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2565 ดร.ปกรณ์ เพ็ชรประยูร ผู้อำนวยการสำนักพัฒนานวัตกรรม
สทอภ. ร่วมกิจกรรมเปิดตัวและอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการห้องเรียนสู้ฝุ่นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร” เพื่อ
รับมือสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ณ ห้องรัตนโกสินทร์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร โดยครั้งนี้มี
นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานในพิธี ซึ่งภายในงาน สทอภ. ได้ร่วมจัด
นิทรรศการ และกิจกรรมให้ความรู้ โดยครั้งนี้ผู้แทน สทอภ. ได้มีการนำเสนอการติดตามจุดความร้อน
(Hotspot) พื้นที่เผาไหม้ (Burned scar) และ Mobile Application “Burn Check” ระบบบริหารจัดการ
เชื้อเพลิงในที่โล่ง โดย ดร.ฐิตวดี สุวัจนานนท์ และนางสาวศศิประภา แถวถาทำ และการนำเสนอการใช้ Web
Application สำหรับติดตามสถิติการเกิดจุดความร้อนและ PM 2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดย นางสาว
วรนุช จันทร์สุริ และนายณัฐดนัย พันธ์สิน เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และประชาสัมพันธ์ การติดตาม
การเข้าถึงการใช้งานเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศจากดาวเทียม ติดตามสถานการณ์ไฟป่า และฝุ่นละอองขนาดเล็ก
ได้ด้วยตนเอง รวมถึงการจัดการเชื้อเพลิงอย่างเป็นระบบ เพื่อลดฝุ่นและมลภาวะในอากาศที่อาจส่งผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพได้ ภาพที่ 6.19
รายงานสรุปสถานการณ์ไฟป่าและหมอกควัน ปี 2566 โดยใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ 106
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน): สทอภ.