Page 183 - 22825_Fulltext
P. 183
4-38
P4. มีความเหลื่อมล้ าใน ค่าดัชนี ระดับคะแนน การเปลี่ยนแปลง ผลต่อระดับ
สังคมน้อยและมีการกระจาย ค่าดัชนี สันติภาพ
ทรัพยากรที่เป็นธรรม 2562 2564 2562 2564
P4.5 ความเหลื่อมล้้าด้าน 0.64 0.63 3.08 3.19 ค่าดัชนีลดลง ระดับสันติภาพ
[2]
ทรัพย์สินการเงิน ร้อยละ 2.17 เพิ่มขึ้น
P4.6 ความเหลื่อมล้้าด้าน ค่าดัชนีลดลง ระดับสันติภาพ
การถือครองที่ดิน 0.59 0.57 3.70 3.64 ร้อยละ 3.25 ลดลง
[1][4]
P4.7 การเข้าถึงหลักประกัน 0.77 0.88 4.71 4.85 ค่าดัชนีเพิ่มขึ้น ระดับสันติภาพ
[1]
สุขภาพถ้วนหน้า ร้อยละ 14.88 เพิ่มขึ้น
P4.8 การเรียนต่อในระดับ 2.67 0.63 3.09 3.18 ค่าดัชนีลดลง ระดับสันติภาพ
[2]
มัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 76.41 เพิ่มขึ้น
P4.9 จ้านวนเด็กหลุดอออก 0.35 0.22 3.16 3.61 ค่าดัชนีลดลง ระดับสันติภาพ
[2]
จากระบบการศึกษา ร้อยละ 36.77 เพิ่มขึ้น
P4.10 สัดส่วนแพทย์ 0.37 [3] 0.37 [3] 2.71 2.70 ค่าดัชนีเพิ่มขึ้น ระดับสันติภาพ
[2][4]
พยาบาลต่อประชากร ร้อยละ 0.49 ลดลง
ระดับสันติภาพ
รวม 3.26 3.35 -
เพิ่มขึ้น
[1]
หมายเหตุ: หากค่าดัชนียิ่งเข้าใกล้ 1 แสดงว่ามีความเหลื่อมล้้าในสังคมน้อย และมีการกระจายทรัพยากรที่เป็น
ธรรมมากขึ้น ส่งผลให้ระดับคะแนนสันติภาพเพิ่มขึ้น
[2] หากค่าดัชนียิ่งเข้าใกล้ 1 แสดงว่ามีความเหลื่อมล้้าในสังคม และมีการกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรม
น้อยลง ส่งผลให้ระดับคะแนนสันติภาพลดลง
[3] ค่าดัชนีมีความแตกต่างกันที่ทศนิยมต้าแหน่งที่ 3 จึงส่งผลให้ระดับสันติภาพไม่เปลี่ยนแปลง
[4] ข้อมูลที่ใช้ในการค้านวณปี 2564 จะใช้ข้อมูลของปี 2563 เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลล่าสุดในปี 2564
องค์ประกอบ P4. มีความเหลื่อมล้ าในสังคมน้อยและมีการกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรม
P4.1 ตัวชี้วัด มุมมองต่อความเหลื่อมล้ าในสังคม
ค าอธิบายตัวชี้วัด
ความเหลื่อมล้้าในสังคม เป็นการใช้ค้าถามจากการส้ารวจความคิดเห็นของประชาชนโดย
ส้านักงานสถิติแห่งชาติ “ท่านคิดว่าสังคมไทยปัจจุบันมีความเหลื่อมล้้าไม่เท่าเทียมกันในเรื่องเหล่านี้”
ระดับ 1-4 (จากคะแนนน้อยไปมาก) ในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย ด้านรายได้และทรัพย์สิน
ด้านการศึกษา ด้านเพศ ด้านสาธารณสุข/การดูแลสุขภาพ ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
ด้านการได้รับบริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ด้านการเข้าถึง/ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
ด้านการมีส่วนร่วมทางการเมือง แล้วน้าคะแนนมาคิดรวมกัน