Page 146 - kpi20902
P. 146

145



                 ส่วนที่ 4.4 จุดเริ่มต้นของความเปลี่ยนแปลง เพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าโดยชุมชน


                        ช่วงปี พ.ศ.2545 ผู้น ำชุมชนในขณะนั้น คือ นำยชนะ สุขพรหม ก ำนันต ำบลหนองสำหร่ำย (ต ำแหน่ง

                 ในขณะนั้น) เริ่มตระหนักถึงสภำพปัญหำต่ำงๆ ที่มีควำมรุนแรงเพิ่มมำกขึ้นโดยกำรร้องเรียนจำกชำวบ้ำน

                 ในต ำบล จึงเริ่มคิดถึงแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำต ำบล โดยกำรชักชวนบุคลำกรคนต ำบลที่มีควำมรู้ควำม

                 สำมำรถเข้ำมำร่วมกระบวนกำรในกำรแก้ไขปัญหำ


                        4.4.1 จุดเริ่มต้นของการแก้ไขปัญหาชุมชน


                            หลังจำกที่ต ำบลหนองสำหร่ำยได้แยกตัวออกมำจำกต ำบลดอนเจดีย์ ในช่วงระยะเวลำ 10 ปี

                 ต ำบลหนองสำหร่ำยก็ค่อยๆ มีพัฒนำกำรมำอย่ำงต่อเนื่องมีทั้งส่วนที่เป็นควำมเข้มแข็งและควำมอ่อนแอ

                 ผสมผสำนกันไป แต่สภำพปัญหำที่เกิดขึ้นหำกมองในภำพรวมจะเห็นปัญหำที่ค่อยๆ ทับทวีขึ้นดังที่น ำเสนอ

                 มำแล้วในเบื้องต้น จนเริ่มมีเสียงสะท้อนจำกลูกบ้ำนในต ำบลหนองสำหร่ำยเพิ่มมำกขึ้นประกอบกับช่วงปี พ.ศ.

                 2540 ที่ประเทศไทยต้องเข้ำสู่ยุควิกฤตทำงเศรษฐกิจ ท ำให้หน่วยงำนภำครัฐในขณะนั้นเริ่มหันกลับมำให้

                 ควำมส ำคัญกับกำรพัฒนำชุมชนท้องถิ่นเพิ่มมำกขึ้น โดยเน้นให้ชุมชนสำมำรถพึ่งพำตนเองได้โดยฝึกให้ชุมชน

                 เรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับกำรท ำแผนแม่บทชุมชน กำรจัดท ำกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ โดยได้รับกำรสนับสนุนจำก

                 ธนำคำรกำรเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) เป็นผู้ให้ควำมรู้จึงเป็นโอกำสให้ นำยชนะ สุขพรหม ก ำนันต ำบล

                 หนองสำหร่ำย (ต ำแหน่งในขณะนั้น) จึงได้เริ่มชักชวนกลุ่มแกนน ำรุ่นใหม่ ที่มีทักษะในกำรพัฒนำตนเองและ

                 มีจิตอำสำเข้ำมำร่วมท ำกิจกรรมจัดท ำแผนชุมชนร่วมกัน


                               “เริ่มต้นจากผู้จัดการ ธ.ก.ส. กับผม ตอนนั้นเป็นก านันแล้ว เราก็ได้ร่วมประชุมกัน

                        มีท่านแรม ท่านศิวโรจน์ และก็ท่านชลอ (เสียชีวิตไปแล้ว) เราก็ปรึกษาหารือกันโดยที่จะ

                        จัดท าแผนชุมชน เราจะได้รู้ว่าชุมชนของเรา มีอะไร ที่จะต้องแก้ไขมีปัญหา อะไรที่จะต้อง

                        แก้ไขบ้าง ตอนนั้นเราประชุมกันทุกอาทิตย์ เราได้ลงชุมชนสอบถามข้อมูล ว่า เราเป็นหนี้สิน

                        จากอะไรใช้จ่ายอะไร จนได้ข้อสรุปตกลงกันว่า  ในแต่ละหมู่ ชาวบ้าน ใช้จ่ายอะไรกันมาก

                        ที่สุด ก็จะให้รับผิดชอบ ในส่วนนั้น ที่จะผลิตขึ้นมาเอง หมู่ 1 ให้รับผิดชอบเรื่องปุ๋ย หมู่ 2

                        รับผิดชอบเรื่องน้ าหมู่ 3 รับผิดชอบเรื่องขยะ หมู่ 4 รับผิดชอบเรื่องธนาคารชุมชน หมู่ 5

                        เรื่องของขบเคี้ยว หมู่ 6 เรื่องตลาดกลางค้าข้าว ที่เราแจกแจงให้แต่ละหมู่ท างานโดยใช้

                        ฐานข้อมูลที่เราได้ส ารวจมา ว่าแต่ละหมู่มีหนี้สินจากตรงไหนมากที่สุดก็ให้รับผิดชอบ และ

                        ผลิตของเหล่านั้นขึ้นมาเพื่อที่จะลดต้นทุนของแต่ละหมู่ลงได้” สัมภำษณ์ นำยชนะ สุขพรหม

                        นำยกเทศบำลต ำบลหนองสำหร่ำย วันที่ 9 กันยำยน 2562
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151