Page 262 - kpi20542
P. 262

กราฟเปรียบเทียบข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแยกรายเดือน
            “เหลียวหลัง แลหน้า” ท้องถิ่นไทยกับการจัดทำบริการสาธารณะ
                  ปีงบประมาณ 2558 และ ปีงบประมาณ 2559


























                        จากกราฟแสดงผลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงรถขยะ แยกรายเดือน ปีงบประมาณ 2558
                  และปีงบประมาณ 2559 เปรียบเทียบ ณ ช่วงเวลาเดียวกัน พบว่าหลังจากดำเนินการโครงการ

                  ถนนปลอดถัง ภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชนในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบริหารจัดการและ
                  แก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยของชุมชน โดยเริ่มจากการจัดการขยะจากต้นทาง ณ แหล่งกำเนิดขยะ
                  ในระดับครัวเรือนลดลงทำให้ปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของรถขยะมีปริมาณลดลงอย่างมี

                  นัยสำคัญ

                  ปัจจัยความสำเร็จ
            กรณีศึกษา: ด้านสิ่งแวดล้อม   ปลอดถังเป็นขั้นตอนที่มีภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทั้งสิ้น เริ่มตั้งแต่ร่วมคิดโครงการ จัดอบรม
                        1. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน :  ในทุกขั้นตอนการดำเนินงานของโครงการถนน



                  ให้กับแกนนำประชาชนเพื่อให้ช่วยในการขยายผลต่อ และการถามความคิดเห็นของคนในทุกๆ
                  ชุมชน ก่อนจะมีการประชาคม เป็นการคำนึงถึงประชาชนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อลด

                  เสียงคัดค้าน ต่อต้านการดำเนินโครงการ

                        2. การทำ MOU ระหว่างเทศบาลกับชุมชน : บันทึกข้อตกลงกับชุมชน หรือ MOU นี้เอง

                  เป็นอีกปัจจัยความสำเร็จของโครงการเพราะเป็นเสมือนสัญญาที่เป็นลายลักษณ์อักษร สามารถ
                  จับต้องได้ เป็นข้อผูกมัดและคอยย้ำเตือนว่าทั้งสองฝ่ายมีสัญญาที่ให้ไว้ต่อกันว่าจะร่วมแก้ปัญหา

                  เรื่องขยะมูลฝอยในชุมชนอย่างจริงจัง








                2     สถาบันพระปกเกล้า
   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267