Page 116 - kpi20488
P. 116
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 115
3.4 ผู้ทรงคุณวุฒิในกลุ่ม Social Media
1) มุมมองต่อตนเอง
ถ้�คนทำ�ข่�วหรือเผยแพร่ข่�วที่เป็นจริง ไม่บิดเบือน ไม่นำ�เสนอภ�พ
เสียง หรือถ้อยคำ�ที่รุนแรง โดยเฉพ�ะเรื่องร�วที่จะนำ�ไปสู่คว�มแตกแยก
ไม่ใช้สื่อเพื่อประโยชน์ท�งธุรกิจ หรือเพื่อก�รค้�เป็นหลัก ก็จะไม่เกิดปัญห�
ขึ้นในสังคม
สิ่งที่อันตร�ยที่สุดของสื่อโซเชียล ก็คือ คนที่ไม่ได้ประกอบวิช�ชีพ
สื่อมวลชน ม�ทำ�หน้�เพจของตัวเอง มีเฟซบุ๊ก หรือไลน์ของตัวเอง คนที่รับสื่อ
เหล่�นี้ ต้องคิดก่อนแชร์ คิดก่อนเผยแพร่ ดูเหมือนจะเป็นธรรมช�ติ หรือค่�นิยม
ที่คนใช้เฟซบุ๊กจะต้องรีบแชร์ รีบบอก หรือคนใช้ไลน์จะต้องรีบโชว์ รีบแชร์
ซึ่งบ�งทีก็ไม่มีที่ม�ที่ไป เพร�ะฉะนั้น ก่อนที่จะแชร์อะไรออกไปก็ควรพิจ�รณ�
ด้วยส�มัญสำ�นึกก่อนว่� ข่�วแบบนี้น่�จะใช่หรือไม่ ตรวจสอบเสียหน่อย
เพร�ะก�รเผยแพร่ออกไปมันไม่ใช่เพียงจ�ก 1 เป็น 2 แล้ว พอเข้�กลุ่มไลน์
ก็ไม่จำ�กัดจำ�นวนแล้ว อ�จกระจ�ยไปเป็น 100 หรือหล�ยร้อยได้ ผู้รับสื่อ
ทุกคนต้องช่วยกันระมัดระวังในเรื่องนี้
2) คุณภาพของสารที่สื่อออกมา
สื่อเป็นหัวใจสำ�คัญของก�รรณรงค์ส�ธ�รณะ ก�รสื่อส�รคว�มจริง
ออกม�สู่ส�ธ�รณะ และห�แนวร่วมให้ถึงระดับนโยบ�ย เป็นสิ่งสำ�คัญที่จะ
ช่วยผลักดันให้รัฐยอมรับ
ก�รทำ�สื่อต้องใช้ศิลปะ และห�กเป็นก�รนำ�เสนอข่�ว ต้องมีคว�มชัดเจน
กับข้อเท็จจริง นำ�เสนอในหล�ยมุมมอง และถ้�ช่วงไหนที่เป็นก�รแสดง
คว�มคิดเห็น ก็ต้องบอกว่�ช่วงนี้เป็นก�รส�นเสวน�คว�มคิดเห็นจ�กฝ่�ยต่�งๆ
จะทำ�ให้ผู้รับส�รไม่เกิดคว�มสับสน และก�รนำ�เสนอคว�มคิดเห็นที่แตกต่�ง
กันนี้ ควรเน้นให้เป็นก�รนำ�เสนออย่�งสร้�งสรรค์ โดยไม่ไปโหมกระพือหรือ
ซ้ำ�เติมคว�มขัดแย้งที่มีอยู่