Page 306 - kpi19912
P. 306

ได๎รับผลกระทบจึงจ าเป็นต๎องกราบบังคมทูลถวายฎีกา เพื่อทรงพระกรุณาตรวจสอบความไมํโปรํงใส
                   ของหนํวยงาน ข๎าราชการ และองค์กรที่เกี่ยวข๎อง อันเป็นสิทธิของประชาชน และหนํวยงานราชการ

                   พึงปฏิบัติโดยชอบเพื่อให๎เกิดความชัดเจน และโปรํงใส  ทั้งนี้ เนื่องจากพื้นที่ดังกลําวไมํมีความ
                   เหมาะสมตํอการกํอสร๎างโรงงานขนาดใหญํ และโรงไฟฟ้าชีวมวล เพราะสร๎างติดกับสถานที่ผลิตนม
                   โรงเรียน และสหกรณ์โคนมฯ ที่สํงผลกระทบชัดเจนตํอความนําเชื่อถือของผลิตภัณฑ์ และอาชีพเลี้ยง
                   โคนม ซึ่งเป็นอาชีพพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และยังเสี่ยง

                   ตํอการลํมสลายชัดเจน โดยมีประชาชนในพื้นที่รํวมลงชื่อถวายฎีกา จ านวน 166 คน ซึ่งไมํรวมรายชื่อ
                   คัดค๎านอีกกวํา 1,000  คน ผู๎สื่อขําวรายงานเพิ่มเติมวํา กํอนหน๎าที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
                   สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จถึงโรงเรียน ตชด. หัวหน๎าชุดลํวงหน๎าประจ าขบวนเสด็จฯ ได๎เข๎ารับฎีกา

                   จาก น.ส.กนกกาญจน์ วงษ์ชัยยะ และราษฎรต าบลวังใหมํ เพื่อเตรียมสํงให๎ราชเลขาฯ น าขึ้น
                   ทูลเกล๎าฯ ตํอไป
                          27 พ.ย.60 ผู๎สื่อขําวรายงานวํา กรณีที่ชาวบ๎านในพื้นที่ ต.วังใหมํ อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก๎ว
                   รวมตัวคัดค๎านการกํอสร๎างโรงงานผลิตน้ าตาลทรายแหํงใหมํ และโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาด 60 เมกกะ
                   วัตต์ ในพื้นที่บริเวณบ๎านวังใหมํ  ติดกับสหกรณ์โคนมวังน้ าเย็นจ ากัด  จนมีการตั้งโลงศพประท๎วงใน

                   พื้นที่ลําสุดนั้น  ตัวแทนชาวบ๎านจ านวนหนึ่ง ได๎เดินทางไปที่กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อยื่นหนังสือตํอ
                   รัฐมนตรีวําการกระทรวงอุตสาหกรรม  และปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อคัดค๎านการตํออายุ
                   โครงการดังกลําว  ซึ่งจะหมดอายุในชํวงสิ้นปี 2560  หนังสือคัดค๎านดังกลําว ระบุวํา กํอนหน๎านี้

                   ชาวบ๎านได๎น าผลการศึกษา  ผลกระทบด๎านสิ่งแวดล๎อมและสุขภาวะ  กรณีโครงการกํอสร๎าง
                   โรงงานผลิตน้ าตาลทรายและโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาด 60 เมกกะวัตต์ (อีไอเอชุมชน) ซึ่งด าเนินการเก็บ
                   ข๎อมูลโดยชาวบ๎านในพื้นที่ และวิเคราะห์ข๎อมูลโดยชาวบ๎านรํวมกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยบูรพา
                   วิทยาเขตสระแก๎ว ,สหพันธ์ที่ดินจังหวัดสระแก๎ว   จนสามารถสรุปผลการศึกษาวํา  พื้นที่ดังกลําว

                   เหมาะสมกับการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เลี้ยงโคนม และผลิตอาหารปลอดภัย และเปิดเผยข๎อมูล
                   การด าเนินการขอรับใบอนุญาตที่ไมํเป็นไปตามที่กฎหมายก าหนด เชํน การด าเนินการโครงการกํอน
                   ได๎รับอนุญาต โดยเฉพาะการยื่นขอและตํอทํอน้ า  และท าสัญญาที่ไมํเป็นธรรมกับสหกรณ์ฯ  กับ
                   ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม (สผ.)และหนํวยงานที่เกี่ยวข๎องกํอน

                   หน๎านี้ แม๎วําภายหลัง คชก.จะลงมติเห็นชอบรายงานผลกระทบด๎านสิ่งแวดล๎อม เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม
                   2560  ด๎วยความเรํงรีบในชํวงที่ประชาชนอยูํระหวํางเดินทางเข๎ารํวมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิง
                   พระบรมศพฯ   ซึ่งยังมีประเด็นที่ขาดการรับฟังและพิจารณาข๎อมูลอีกหลายประการ  โดยทาง
                   ประชาชนผู๎มีสํวนได๎สํวนเสียอยูํระหวํางด าเนินการยื่นเรื่องคัดค๎านมติดังกลําว

                          น.ส.กนกกาญจน์ วงษ์ชัยยะ ตัวแทนชาวบ๎านกรณีดังกลําว ระบุวํา ทางประชาชนในพื้นที่ ได๎
                   น าสํงข๎อมูลเพิ่มเติมกรณีดังกลําวไปยังนายกรัฐมนตรีกํอนหน๎านี้   เนื่องจากโครงการกํอสร๎างโรงงาน
                   น้ าตาลฯ ซึ่งได๎รับอนุญาตตั้งแตํปี 2554  และมีก าหนดสิ้นสุดภายใน 5  ปี และตํออายุมาถึงปี 2560

                   ซึ่งไมํมีการด าเนินการตั้งแตํต๎น  อันเนื่องมาจากเหตุผลของการกีดกันผู๎ประกอบการรายอื่น  และผล
                   การศึกษาพบความไมํเหมาะสมชัดเจน มีผู๎ได๎รับผลกระทบชัดเจน  จึงขอให๎รัฐมนตรีกระทรวง
                   อุตสาหกรรรมและปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ไมํมีการขยายเวลาออกหรือตํออายุใบอนุญาตออกไป
                   อีก เนื่องจากจะยิ่งกํอปัญหากับภาคประชาชน ชุมชน สิ่งแวดล๎อม อาชีพพระราชทาน และเศรษฐกิจ
                   ของชุมชนในอนาคต

                          น.ส.กนกกาญจน์ กลําวอีกวํา ปัจจุบันมีการขออนุญาตและตํอทํอเดินน้ ามาใช๎แล๎วจากเขื่อน
                   พระสะทึง  ทั้งที่โครงการนี้ระบุในรายงานการศึกษาวํา ใช๎น้ าหลาก  แตํมีการตํอทํอสูบน้ าจากหน๎า

                                                           300
   301   302   303   304   305   306   307   308   309   310   311