Page 168 - kpi19910
P. 168
158
7. สถำนฑูตมำเลเซีย อินโดนีเซีย
8. ทหำร
9. มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLAW)
ระยะเวลา : มำกกว่ำ 3 ปี (พ.ศ. 2559-2561)
สถานะ : โครงกำรชะลอกำรสร้ำง
พลวัต :
ประเด็นควำมขัดแย้งโครงกำรภำครัฐระหว่ำงรัฐกับประชำชนในอ ำเภอเทพำ ซึ่งให้
ควำมส ำคัญกับเรื่องพลังงำนสะอำดที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหำมลภำวะ โดยภำครัฐตัดสินใจ
“ชะลอ” โครงกำรโรงไฟฟ้ำถ่ำนหินเทพำ ซึ่งชำวบ้ำนไม่ต้องกำร หำกกำรชะลอดังกล่ำวนั้นเป็นเพียง
กำรยื้อเวลำไว้ระยะหนึ่งเท่ำนั้น ซึ่งในที่สุดแล้วก็อำจจะมีกำรสั่งเดินหน้ำโครงกำรต่อไป โดยไม่ได้มีกำร
แก้ไขตรวจสอบ หรือกระท ำกำรใด ๆ เพื่อจะสร้ำงทำงออกของปัญหำได้อย่ำงแท้จริง ซึ่งบทเรียนใน
ลักษณะนี้เคยเกิดขึ้นแล้วในกรณีของโครงกำรโรงไฟฟ้ำถ่ำนหินจังหวัดกระบี่ ซึ่งในที่สุดรัฐบำลได้สั่ง
เดินหน้ำโครงกำรโดยที่ไม่ได้สนใจสิ่งใดทั้งสิ้น ดังนั้น ชำวบ้ำนต้องกำรให้ยกเลิกโครงกำร
ระดับความรุนแรง : ไม่มีควำมเสียหำยต่อทรัพย์สิน
วิธีการแก้ไข :
กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ
1. ชำวบ้ำนรวมตัวเพื่อเดินประท้วงกดดันกำรไม่ให้สร้ำงโรงไฟฟ้ำถ่ำนหิน
2. ชำวบ้ำนและกลุ่มเครือข่ำยร่วมยื่นหนังสือคัดค้ำนต่อนำยกรัฐมนตรี
3. นำยกรัฐมนตรีมอบหมำยรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงพลังงำนแก้ไขปัญหำ
ปัจจัยที่จะสนับสนุนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง คือ
1. กำรมีส่วนร่วมของชำวบ้ำนผู้ได้รับควำมเดือดร้อน
2. สิทธิชุมชนของประชำชนในกำรปกป้องทรัพยำกรธรรมชำติ
ผลกระทบที่เกิดขึ้น : ชำวบ้ำนถูกจับกุมตัวและถูกฟ้องร้องด ำเนินคดี จ ำนวน 17 คน
ที่มาของข้อมูล :
1. สัมภำษณ์ตัวแทนชำวบ้ำนในพื้นที่
2. ประชำไท “พัทลุง-สงขลำ-กระบี่-สตูล-สุรำษฎร์ ค้ำน ผังเมือง ฉบับม.44 เข้ำกรุงแจง
ปัญหำโรงไฟฟ้ำถ่ำนหินเทพำ” เมื่อวันที่ 19 กุมภำพันธ์ 2559 จำก
https://prachatai.com/journal/2016/02/64169
3. ส ำนักข่ำวอิศรำ “ควำมขัดแย้งที่เทพำ...เมื่อโรงไฟฟ้ำ (ถูก) โยงควำมมั่นคง” เมื่อวันที่ 30
พฤศจิกำยน 2560 จำก https://www.isranews.org/content-page/67-south-slide/61607-
tepa.html