Page 234 - kpi18508
P. 234

2


              แก้ปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้น เช่น การให้เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่รับน้ำสามารถใช้น้ำจากบ่อที่ผ่าน
              การบำบัดมาใช้ในพื้นที่การเกษตรได้หากเกิดปัญหาภัยแล้งในอนาคต และมีการบริจาคกระสอบปุ๋ย
              อาหารสัตว์สำหรับการทำฝายชะลอน้ำเป็นประจำทุกปี

                                               ร ร
                    ทั ทั
                    ทั้งนี้ จากการดำเนินงานร่วมกันของ้งนี้ จากการดำเนินงานร่วมกันของเค ือข่ายป้องกันและบรรเทาภัยแล้งแบบบูรณาการือข่ายป้องกันและบรรเทาภัยแล้งแบบบูรณาการ  ือข่ายป้องกันและบรรเทาภัยแล้งแบบบูรณาการ  ือข่ายป้องกันและบรรเทาภัยแล้งแบบบูรณาการ
              ภายใต้โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน ทำให้เกิดโครงการต่าง ๆ ดังนี้ ทำให้เกิดโครงการต่าง ๆ ดังนี้
              ภายใต้โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน
              ภายใต้โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน
                    1.  โครงการพัฒนาแหล่งน้ำสำหรับอุปโภคและบริโภค ได้แก่ โครงการซ่อมแซมระบบ
              ประปาหมู่บ้าน การเจาะบ่อบาดาล ก่อสร้างระบบประปาหมู่บ้าน การจัดซื้อเครื่องสูบน้ำ การเจาะ
              บ่อบาดาลพร้อมระบบไฟฟ้า การจัดซื้อถังเก็บน้ำสำรอง

                    2.  โครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร เป้าหมายเพื่อเพิ่มแหล่งน้ำต้นทุน และ
              เพ เพิิ
              เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำ ได้แก่ โครงการขุดลอกทรายแม่น้ำปิง โครงการขุดลอก่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำ ได้แก่ โครงการขุดลอกทรายแม่น้ำปิง โครงการขุดลอก่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำ ได้แก่ โครงการขุดลอกทรายแม่น้ำปิง โครงการขุดลอก
              อ่างเก็บน้ำจำนวน 15 แห่ง โครงการซ่อมแซมรางระบายน้ำ โครงการก่อสร้างสถานีสูบน้ำพลังไฟฟ้า
              โครงการก่อสร้างระบบน้ำคอนกรีตในการผันน้ำเข้าสู่พื้นที่การเกษตร โครงการน้ำเพื่อเกษตร
              ร่วมกับ บริษัท ซีพีเอฟ จำกัด (มหาชน)

                    3.  ส่งเสริมให้ประชาชนมีจิตสำนึก อนุรักษ์ ห่วงแหนทรัพยากรธรรมชาติ  ได้แก่
              โครงการก่อสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น , โครงการปลูกต้นไม้ ลดโลกร้อน , โครงการปลูกหญ้า

              แฝกตามแนวพระราชดำริ, โครงการรณรงค์ อนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม,
              โครงการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำและจัดหาพันธุ์ปลาปล่อยในแหล่งน้ำสาธารณะ, โครงการลดมลพิษ
              ในอากาศ และป้องกันหมอกควันไฟป่า, โครงการจัดทำแนวกันไฟ

                    ผลสำเร็จของโครงการที่องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา ร่วมกับเครือข่ายป้องกันและ
              บรรเทาภัยแล้งแบบบูรณาการ ภายใต้โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน ท้องถิ่นสามารถบริหาร

              จัดการน้ำด้วยตนเอง ลดการพึ่งพาภาครัฐ ประชาชนในพื้นที่มีน้ำใช้ 24,000 ลิตรต่อวัน ครอบคลุม
              1,069 ครัวเรือน  และมีน้ำในระบบประปาหมู่บ้านหมู่บ้านละ 30,000 ลิตร มีอ่างเก็บน้ำ จำนวน
              15 อ่าง สามารถเก็บกักน้ำได้กว่า 2.37 ล้านลูกบาศก์เมตร ภายหลังการทำระบบจัดการน้ำดังกล่าว
              ทำให้ไม่เกิดปัญหาเรื่องภัยแล้ง และส่งผลให้เกษตรกรที่ทำสวนลำไยมีรายได้จากผลผลิตลำไย
              ทั้งในและนอกฤดู จำนวน 419,850,000 บาทต่อปี





                                                                  รางวัลพระปกเกล้า’ 60
   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239