Page 66 - kpi15860
P. 66

6                                                                          65


 ประโยชน์มากขึ้น รวมทั้งแต่ละชุมชนเห็นว่าโครงการดังกล่าวสร้างประโยชน์ต่อชุมชนของตนเอง  การสืบทอดประเพณีสู่ขวัญ การฟ้อนล่องน่าน การฟ้อนเจิง และกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข
 และสร้างคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นทั้งในด้านสุขภาพ จิตใจ แต่ละหมู่บ้านก็มีความเป็น  (อสม.) นำมาพัฒนาต่อยอดเป็นอาหารต้านโรคเมนูต่างๆ เพื่อป้องกันการเกิดโรค ด้วยคุณค่า
 ระเบียบเรียบร้อย ครอบครัวมีความน่าอยู่เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 70 และสามารถควบคุมการแพร่  ผักพื้นบ้านอาหารปลอดภัย
 ระบาดของโรค เช่น โรคไข้เลือดออกได้อย่างมาก โครงการนี้จึงประสบความสำเร็จตาม
 วัตถุประสงค์ได้แล้วถึงขยายผลไปสู่กิจกรรมอื่นๆ ในชุมชนแบบค่อยเป็นค่อยไปโดยการเรียนรู้  โครงการนี้ได้รับความร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านบ้านทรายทอง,

 ร่วมกัน    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้าน, ชมรมผู้สูงอายุตำบลส้าน, ชมรมผู้สูงอายุหมู่ที่ 1-10, ผู้นำ
          ชุมชน, ประชาชนในเขตตำบลส้าน ที่ได้เข้ามามีเป็นเครือข่ายและมีส่วนร่วมในการจัดประชุมเพื่อ
 การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ   การวางแผนการดำเนินงาน โดยให้ชมรมผู้สูงอายุจัดกิจกรรมแต่ละครั้งหมุนเวียนกันไปในทุก
          หมู่บ้านโดยขอความร่วมมือจากพระสงฆ์ แกนนำ และผู้บริหารท้องถิ่นที่จัดกิจกรรมให้มีส่วนร่วม
 องค์การบริหารส่วนตำบลส้าน ได้เน้นและให้ความสำคัญแก่ประชาชนในพื้นที่มาอย่าง    ช่วยเหลือเรื่องการจัดเตรียมสถานที่ อาหารแก่ผู้เช้าร่วมกิจกรรมในแต่ละครั้ง การเป็นผู้แทน
 ต่อเนื่อง คุณภาพชีวิตของประชาชนตำบลส้านจึงเป็นหัวใจหลักสำคัญที่สุด อย่างไรก็ตาม แม้ว่า  คณะกรรมการตัดสินผลงานของชุมชน เป็นต้น
 ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบลส้านจะมีจำนวนผู้สูงอายุมากกว่าวัยอื่นๆ แต่คุณภาพของ
 ผู้สูงอายุมิได้เป็นเกณฑ์ชี้วัดความล้มเหลวในการพัฒนาของตำบลส้าน ในทางตรงกับข้าม คุณภาพ  องค์การบริหารส่วนตำบลส้านเห็นว่ากิจกรรมที่จัดให้แก่ผู้สูงอายุเป็นประจำทุกปีนี้จะเป็น
 ของผู้สูงอายุต่างหากที่เป็นตัวชี้วัดถึงคุณภาพในการเป็นพลังของกลุ่มบุคคลจากหลายกลุ่มที่เป็น  กิจกรรมที่ ได้แสดงให้เห็นว่าผู้สุงอายุมีคุณค่าสามารถแสดงศักยภาพและความสามารถได้
 กำลังหลักในการส่งเสริมและพัฒนาพื้นที่ กล่าวคือ หากคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย     เท่าเทียมกับคนในวัยทำงาน เช่น การแสดงความสามารถของผู้สูงอายุในการตีกลองปู่จา การแข่งขัน
 ที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขแล้วจะสามารถสร้างให้ตำบลส้าน     กีฬาสะบ้า เปตอง เกิดเป็นความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุและเพื่อให้เป็นที่พึ่งทางใจ
 เป็นแหล่งชุมชนเข้มแข็ง สามารถประหยัดงบประมาณในการรักษาพยาบาลอย่างมาก รวมทั้งยัง  ของบุตรหลาน รวมทั้งได้รับการยกย่องจากสังคมในฐานะผู้ที่มีประสบการณ์และเป็นปูชนียบุคคล
 เป็นตัวชี้วัดถึงคุณภาพในการจัดทำบริการสาธารณะอันเกี่ยวเนื่องกับชีวิตของผู้สูงอายุที่สามารถ  ที่สำคัญ มีการค้นหาผู้มีภูมิปัญญา/จิตสาธารณะมอบเกียรติบัตร จากการดำเนินโครงการดังกล่าว

 เข้าไปดูแลและส่งเสริมวิถีชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นที่ประจักษ์ได้ว่ากลุ่ม     นี้เองได้ทำให้กลุ่มผู้สูงอายุได้พบปะและแลกเปลี่ยนปัญหาของแต่ละชุมชน จนสุดท้ายได้มีความ
 ผู้สูงอายุจะเป็นกลุ่มคนที่เป็นตัวแทนเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับคนทุกวัยในชุมชน  คิดที่จะนำปัญหาของผู้สูงอายุหลายท่านในชุมชนนำมาต่อยอดให้เกิดกลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ขึ้น
 และสังคม ดังนั้น แนวทางในการดูแลผู้สูงอายุก็คือ การช่วยเหลือให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี      มาถึง 10 กองทุน ซึ่งประกอบไปด้วยสมาชิกประมาณ 600 คน เพื่อช่วยเหลือสมาชิกที่เป็นผู้สูงอายุ
 มีความสุขและพึงพอใจสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างเหมาะสม ช่วยเหลือตนเองได้ตาม  ได้รับค่าใช้จ่ายในกรณีเจ็บป่วยหรือจัดการศพในกรณีเสียชีวิต
 อัตภาพ ไม่เป็นภาระให้แก่ผู้อื่นและดำรงไว้ซึ่งการมีคุณค่าในตนเองซึ่งหมายถึงการส่งเสริมให้     ความสำเร็จที่โดดเด่นในโครงการนี้ที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ ผู้สูงอายุโดยทั่วไปมีสุขภาพ
 ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี    จิตดีขึ้นโดยประเมินผลจากจำนวนครั้งของผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

 ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลส้านจึงผลักดันให้มีโครงการที่เห็นความสำคัญของสุขภาพ  ย้อนหลัง 3 ปีที่มีอัตราลดลงอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการนอนโรงพยาบาลจากความเจ็บป่วยของ
 ผู้สูงอายุและส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีสุขภาพกายและใจที่แข็งแรง ด้วยการจัดทำกิจกรรมหลาย     ผู้สูงอายุลดลงจากเดิมในปี พ.ศ. 2554 ที่มีผู้สูงอายุนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลจำนวน 150 คน

 รูปแบบ เช่น กิจกรรมการแข่งขันกีฬาผู้สูงอายุหรือกิจกรรมที่ส่งเสริมการออกกำลังกายให้แก่     คิดเป็นร้อยละ 36.14 จนในปี พ.ศ. 2556 มีจำนวนผู้สูงอายุที่นอกรักษาตัวเหลือเพียง 67 คน
 ผู้สูงอายุในพื้นที่ รวมทั้งการส่งเสริมการพัฒนาทักษะอาชีพทางด้านศิลปะ วัฒนธรรม และ     คิดเป็นร้อยละ 16.14
 ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบล เช่น การการถ่ายทอดภูมิปัญญาด้านพืชสมุนไพรแก่คนรุ่นหลัง



 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57                               รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71