Page 208 - kpi15860
P. 208
206 207
การจัดงานในโครงการส่งเสริมประเพณีผูกผ้าเรือหัวโทง เพื่อสร้างจุดขายทางการท่องเที่ยวในพื้นที่ (1) จัดให้มีการดำเนินงานและการประชุมร่วมกันระหว่างโรงเรียน ชุมชน คณะกรรมการ
เพิ่มเติม โดยมี 2 กิจกรรมสำคัญที่ถูกต่อยอด คือ พิธีขอพรพระนาง และกิจกรรมปีนผา โรงเรียน และผู้ปกครองนักเรียน เพื่อจะได้รับทราบข้อมูล สภาพปัญหา และความ
จดทะเบียนสมรส ซึ่งจัดขึ้น ณ อ่าวไร่เล ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีตำนาน และเป็นแหล่งท่องเที่ยว ต้องการที่แท้จริง นำมาวางแผน กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย นำไปสู่การกำหนด
ยอดนิยมของนักกีฬาปีนผา เนื่องจากมีหน้าผาซึ่งมีความงดงามและติดอันดับต้นๆ ของโลก และพัฒนากลยุทธ์การดำเนินงานของโรงเรียน
จากการดำเนินโครงการส่งเสริมประเพณีผูกผ้าเรือหัวโทงที่ผ่านมา ได้รับความร่วมมือด้วย (2) มีการดำเนินงานโดยอาศัยกระบวนการมีส่วนร่วมเป็นหลัก คือ ร่วมคิด ร่วมทำ
ดีจากทุกภาคส่วนในการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ ทำให้โครงการบรรลุผลสำเร็จตาม ร่วมประเมินผล ในทุกขั้นตอนของการดำเนินการ ทั้งก่อนเริ่มดำเนินการ ระหว่าง
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และในปีต่อไปจะขยายผลการดำเนินงานไปยังพื้นที่เกาะพีพี ดำเนินการ และเมื่อสิ้นสุดการดำเนินการ
เนื่องจากผู้ประกอบการเรือหางยาวเกาะพีพี ได้เห็นถึงความสำเร็จของการมีส่วนร่วมจากทุกภาค (3) พัฒนาการศึกษาให้มีมาตรฐานการศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นและชุมชน
ส่วนซึ่งทำให้การดำเนินโครงการประสบผลสำเร็จ สามารถสืบสานประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยระดมทรัพยากรและบุคลากร ที่มีอยู่ในพื้นที่ เข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบการ
ตลอดจนสามารถส่งเสริมการท่องเที่ยว และสร้างรายได้ให้กับชุมชนและท้องถิ่นอีกทางหนึ่งด้วย
เรียนการสอน เนื้อหา ที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ ต่อยอดสู่การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านช่องพลี และนำไปสู่การพัฒนาอาชีพของประชาชนและเยาวชนในพื้นที่อีกทางหนึ่ง
โรงเรียนบ้านช่องพลี เป็นโรงเรียนเก่าแก่ดั้งเดิมของชุมชนตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย ทั้งนี้ในช่วง ที่ผ่านมา นับได้ว่า อบต.อ่าวนาง ได้เดินมาถูกทางในการแก้ไขปัญหาด้านการศึกษาในพื้นที่
ที่ผ่านมามีจำนวนเด็กลดน้อยลงทุกปี ซึ่งแนวโน้มจำนวนเด็กอาจลดลงเรื่อยๆ จนอาจถึงขั้นต้องปิด สามารถพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการศึกษา ทั้งด้านอาคารสถานที่ ด้านบุคลากร และด้าน
การเรียนการสอน ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลอ่าวนาง จึงรับการถ่ายโอนโรงเรียนบ้านช่องพลี วิชาการ ดังเห็นได้จากการที่ประชาชนได้ส่งบุตรหลานเข้าเรียนตามนโยบายเรียนฟรีของผู้บริหาร
มาสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอ่าวนาง เพื่อเข้ามาทำหน้าที่บริหารจัดการศึกษา เพื่อให้โรงเรียน ท้องถิ่น อบต.มีบริการรถรับส่งนักเรียน สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้ปกครองจากการจัดส่ง
ซึ่งเป็นโรงเรียนเก่าแก่ เป็นโรงเรียนดั้งเดิมของชุมชนตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย ให้สามารถดำรงอยู่และ บุตรหลานเข้าไปเรียนโรงเรียนในตัวเมือง ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของเด็กและครอบครัวให้ดี
จัดการเรียนการสอนให้แก่รุ่นลูกรุ่นหลานสืบไป ซึ่ง อบต.อ่าวนาง ได้ดำเนินการบริหารจัดการ ยิ่งขึ้น เด็กไม่ต้องตื่นเช้าเพื่อเดินทางไปโรงเรียนในตัวเมือง ไม่ต้องเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในการ
ศึกษาโรงเรียนบ้านช่องพลีเรื่อยมาตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน 2549 จนถึงปัจจุบัน เดินทาง หลังเลิกเรียนมีเวลากลับมาอยู่กับครอบครัวเร็วขึ้น ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดี
ในครอบครัว ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เด็กได้รับความรู้ การศึกษาได้รับการพัฒนา จนปรากฏเห็น
ทั้งนี้ การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านช่องพลี ถือได้ว่ามีความโดดเด่นด้านส่งเสริม ผลงานเป็นที่เด่นชัด ระหว่างก่อนการถ่ายโอนกับหลังการถ่ายโอนอย่างชัดเจน จนเป็นที่ยอมรับ
การมีส่วนร่วมของประชาชน ตั้งแต่เริ่มกระบวนการถ่ายโอน ซึ่งต้องได้รับความยินยอมและความ อย่างกว้างขวาง ส่งผลให้โรงเรียนบ้านช่องพลีได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน ประจำปีการศึกษา
สมัครใจในกระบวนการการถ่ายโอน โดย อบต.อ่าวนาง ได้จัดให้มีการลงคะแนนจาก ทุกภาคส่วน 2553 ประเภทสถานศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา อันเป็นแบบอย่างให้องค์กรอื่นมาศึกษาและ
ไม่ว่าจะเป็นคณะครู กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และภาคประชาชน นำไปใช้เป็นแนวทางพัฒนา
สำหรับ ในส่วนการบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านช่องพลี จะมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์หรือความ
สัมฤทธิ์ผลเป็นหลัก โดยอาศัยการวางแผน การกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกลยุทธ์การ
ดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม เพื่อการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้นและแสดง
ผลงานต่อสาธารณะอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีกระบวนการบริหารจัดการ ดังนี้
รางวัลพระปกเกล้า’ 57 รางวัลพระปกเกล้า’ 57