Page 196 - kpi15860
P. 196

1                                                                          1 5


 ชมรมผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครดูแลสุขภาพ  หัวใจสำคัญในการขับเคลื่อนโครงการให้เกิดขึ้นและสามารถดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง คือ
 ผู้สูงอายุ (อผส.) ได้ร่วมกันสำรวจจำนวนประชากรผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ และพบว่า ในปี พ.ศ.   การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนโดยเฉพาะประชาชน
 2553 – 2557 ประชากรผู้สูงอายุมีจำนวนร้อยละ 17.41, 18.02, 19.12, 20.30 และ 22.25 ของ  ประชาชนในทุกชุมชนร่วมเป็น อผส. และร่วมกันระดมทรัพยากรในชุมชน ไม่ว่าจะเป็น
 ประชากรทั้งหมด ตามลำดับ ซึ่งผลการสำรวจแสดงให้เห็นว่า ประชากรผู้สูงอายุมีอัตราเพิ่มขึ้น  คน เงิน สิ่งของ เพื่อนำมาใช้ในโครงการ  อผส. มีการวางแผนงานร่วมกัน ทำงานกันเป็นทีม

 อย่างต่อเนื่อง และตำบลหาดเสี้ยวกำลังก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ ทั้งนี้ การสำรวจมิได้มุ่งไป  แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบกันอย่างชัดเจน จัดระบบงาน สำรวจข้อมูลประชากรกลุ่มเป้าหมาย
 ที่จำนวนผู้สูงอายุเท่านั้น แต่ยังสำรวจรวมไปถึงสภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ ซึ่งตำบลหาดเสี้ยว
 ได้จัดแบ่งสภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มติดสังคม กลุ่มติดบ้าน และ     สำรวจความคิดเห็นและความต้องการอย่างต่อเนื่อง จัดทำปฏิทินปฏิบัติงาน ตรวจคัดกรองสุขภาพ
          ผู้สูงอายุ เยี่ยมบ้าน และที่สำคัญเปิดศูนย์ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ
 กลุ่มติดเตียง ผลการสำรวจพบว่า ในปี พ.ศ. 2557 มีกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคมจำนวน 1,489 คน   ผู้สูงอายุ ปัจจุบันเทศบาลตำบลหาดเสี้ยวมี อสม. มากถึง 179 คน และ อผส. จำนวน 48 คน เพื่อ
 กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้านจำนวน 36 คน และกลุ่มผู้สูงอายุติดเตียงจำนวน 18 คน รวมทั้งผู้สูงอายุ     คอยดูแลผู้สูงอายุตามโครงการ

 ส่วนใหญ่ป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
                ส่วนราชการในพื้นที่มีส่วนร่วมในการให้ความรู้และการฝึกทักษะการดูแลผู้สูงอายุในกรณี
 ด้วยบริบทสังคมที่มีผู้สูงอายุเป็นจำนวนมาก เทศบาลตำบลหาดเสี้ยว จึงได้จัดทำโครงการ  ต่างๆ ให้ความช่วยเหลือในด้านวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ สนับสนุนงบประมาณ และให้การ
 ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวตำบลหาดเสี้ยว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิต  รับรองมาตรฐานตำบลต้นแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว และศูนย์เรียนรู้การดำเนินงาน
 ของผู้สูงอายุ  และลดค่าใช้จ่ายในการเข้ารับบริการในสถานพยาบาล ตลอดจนลดปัญหาการถูก  ดีเด่นด้านผู้สูงอายุ
 ทอดทิ้ง หรือถูกทารุณกรรม  กิจกรรมการดำเนินงานจัดแบ่งตามกลุ่มผู้สูงอายุ และดำเนินงาน

 โดย อสม. และ อผส. ซึ่งเป็นจิตอาสา  กล่าวคือ ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม ได้รับการตรวจสุขภาพทุก  ภาคเอกชน ได้แก่ ร้านผ้าทอ ร้านอาหาร ร้านค้า ร้านจำหน่ายเครื่องเขียน และผู้ประกอบ
 เดือนในวันแจกเบี้ยยังชีพ ชมรมผู้สูงอายุจัดทำโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน  การตลาดสด มีส่วนร่วมในการสนับสนุนงบประมาณ สิ่งของเครื่องใช้ อาหารและเครื่องดื่ม ในการ
 หลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลหาดเสี้ยว และนำมาจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพกายและ  จัดกิจกรรมเพื่อผู้สูงอายุ
 สุขภาพใจ ประกอบกับเทศบาลตำบลหาดเสี้ยว และโรงพยาบาลศรีสัชนาลัย จัดทำโครงการ     ศาสนสถาน วัดในเขตพื้นที่ให้การสนับสนุนสถานที่เพื่อเป็นศูนย์ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
 ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในรูปแบบต่างๆ ขณะที่ ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียง โครงการได้จัด  ระยะยาว สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ และพระสงฆ์ยังร่วมเป็นวิทยากรในกิจกรรม
 กิจกรรมเยี่ยมบ้าน ตรวจคัดกรองสุขภาพ กายภาพบำบัด ตัดเล็บ ตัดผม มอบอาหารเสริม และ

 จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมและปลอดภัย และมีบริการส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาล      เทศบาลตำบลหาดเสี้ยวส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานทุกขั้นตอน
          กล่าวคือ
 นอกจากนี้ โครงการยังสามารถเปิดศูนย์ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวตำบลหาดเสี้ยว
 เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่มด้วยอุปกรณ์จากภูมิปัญญาบ้านหาดเสี้ยวโดยอยู่ภายใต้    เริ่มต้นจากการสร้างคน สร้างงาน สร้างความรับผิดชอบ สร้างกิจกรรม โดยทำการแต่งตั้ง
 การดูแลโดย อผส. ภายในศูนย์มีจุดลงทะเบียน จุดตรวจคัดกรองสุขภาพ และจุดจำหน่ายเพื่อ    คณะกรรมการจากตัวแทนทุกภาคส่วน จำนวน 3 กลุ่ม ได้แก่ คณะกรรมการโครงการดูแลสุขภาพ
 คัดแยกการรับบริการตามจุดต่างๆ อาทิ การนวดแผนไทย การแช่เท้าด้วยสมุนไพร การนวดเท้า  ผู้สูงอายุระยะยาว คณะกรรมการอาสาสมัครดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และคณะกรรมการศูนย์ดูแล
 ด้วยลูกแก้วและนวดฝ่ามือด้วยถั่วเขียว การให้บริการตัดผม การบริหารร่างกายโดยใช้อุปกรณ์จาก  สุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว คณะกรรมการมีบทบาทหน้าที่ชัดเจน จัดประชุมกันอย่างต่อเนื่อง

 ภูมิปัญญา กิจกรรมสันทนาการ กิจกรรมวันเกิด การมอบนมและเลี้ยงอาหาร และการตรวจ  เพื่อวางแผนงานและกิจกรรม จัดทำปฏิทินกิจกรรมประจำเดือน เพื่อแจ้งวัน เวลา สถานที่ และ
 สุขภาพช่องปากโดยโรงพยาบาล

 รางวัลพระปกเกล้า’ 57                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 57
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201