Page 367 - kpi12821
P. 367
ณรงค์เดช สรุโฆษิต
บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตาม
รัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ. วิญญูชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. 2547.
. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ. วิญญูชน. 2544
ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติบุคคลและ
ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล. กรุงเทพฯ. นิติธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. 2549.
ประภาศน์ อวยชัย. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหุ้นส่วนและบริษัท.
กรุงเทพฯ. กรุงสยามการพิมพ์. 2530.
ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ. พรรคการเมืองและปัญหาพรรคการเมืองไทย. กรุงเทพฯ. ไทยวัฒนา
พานิช. 2524.
ปัญญา อุดชาชน และ มรว. วุฒิเลิศ เทวกุล. รายงานการวิจัย เรื่อง อำนาจศาลรัฐธรรมนูญ
ในการยุบพรรคการเมือง. สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. เอกสารอัดสำเนา.
ม.ป.ป.
พรพล เอกอรรถพร. เปิดโปงกลโกงเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์ขอคิดด้วยคน. 2548.
พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. ระบบการทุจริตเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ. ศูนย์วิจัยและผลิตตำรา
สถาบันเทคโนโลยีสังคม (เกริก). 2537.
โภคิน พลกุล. ปัญหาและข้อคิดบางเรื่องในรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ. ศูนย์การพิมพ์พลชัย.
2529.
มนตรี รูปสุวรรณ และคณะ. เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ. วิญญูชน. 2542.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. เศรษฐศาสตร์รัฐธรรมนูญ เล่ม 2: บทวิเคราะห์รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540. กรุงเทพฯ. มติชน. 2546.
ลิขิต ธีรเวคิน. พรรคการเมืองและการพัฒนาการเมืองไทย. กรุงเทพฯ. สถาบันวิจัยของ
สมาคมนักวิจัยมหาวิทยาลัยไทย. 2526.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ: ศึกษาเปรียบเทียบกรณีของศาล
รัฐธรรมนูญต่างประเทศกับศาลรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ. วิญญูชน. 2546.
. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงแนวคำวินิจฉัยและ
ผลผูกพันของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ: ศึกษากรณีศาลสูงสุดของ
สหรัฐอเมริกาและศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน. กรุงเทพฯ.
มิสเตอร์ก๊อปปี้. 2550.
วรพจน์ วิศรุตพิชญ์. ข้อความคิดและหลักการพื้นฐานในกฎหมายมหาชน. กรุงเทพฯ.
นิติธรรม. 2540.