Page 186 - kpi10440
P. 186
คู่ มื อ ส ม า ชิ ก ส ภ า ท้ อ ง ถิ่ น
(3) มีการศึกษามาแล้วอย่างรอบด้าน
(4) มีการเปรียบเทียบหรือยกตัวอย่าง
(5) มีข้อเสนอแนะเบื้องต้นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง
3.2) ส่วนที่เขียน
(1) ถูกต้อง ครบถ้วน
(2) สอดคล้องกับแม่บทและไม่เกินอำนาจ
(3) ไม่ขัดหรือแย้งกับแม่บทและกฎหมายอื่น
(4) สั้น กระชับ ชัดเจน ไม่ยาวเยิ่นเย้อ
(5) จัดเรียงตามลำดับ (ใช้หลักตรรกวิทยา - ลำดับเหตุการณ์
สำหรับเนื้อเรื่อง และจัดหมวดหมู่ สำหรับโครงสร้าง)
(6) ใช้การอ้างอิงไปมา ไม่เขียนย้ำ ซ้ำซาก
6.8.8 บทเฉพาะกาล
สำหรับบทเฉพาะการนี้ บางครั้งกฎหมายใหม่อาจไม่จำเป็นต้องมี
1) บทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติให้ใช้เฉพาะในช่วงเวลาหนึ่งหรือกับเรื่อง
ใดเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้นก่อนวันใช้บังคับบทกฎหมายนั้น 10
2) การเขียนบทเฉพาะกาลจึงเป็นการวิเคราะห์กฎหมายนั้นทั้งที่ใช้อยู่ใน
ปัจจุบัน ที่กำลังจะเปลี่ยนแปลง และที่จะมีการแก้ไขใหม่เพื่อจะใช้ต่อไปในภายหน้า เพื่อ
ไม่ให้เกิดปัญหาหรือขาดความต่อเนื่องในการใช้กฎหมาย
10 พจนานุกรมศัพท์กฎหมายไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน บริษัทเพื่อนพิมพ์
จำกัด พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2537 หน้า 71
สถาบันพระปกเกล้า 1