Company logo
หน้า MARC
Rec.Status n Bib.Stage Normal Create rapeephan Modify wanpen
Rec.Type a Language tha Entry d. 2007/01/15 Update d. 2018/10/30
Bib.Level m Pub Ctry. th Date1 2549 Date2 0
Tag Ind Content
001##0000-8863
016##\a7690 ฉ.2
020##\a9789744492899
035##\aMain000008863
050##\aJQ1749.ก795 \b.ณ42
1000#\aณรงค์ บุญสวยขวัญ
24510\aนักการเมืองถิ่นจังหวัดนครศรีธรรมราช / \c ณรงค์ บุญสวยขวัญ
260##\aนนทบุรี : \b สถาบันพระปกเกล้า, \c 2549
300##\a196 หน้า : \b ภาพประกอบ
490##\aชุด สำรวจเพื่อประมวลข้อมูลนักการเมืองถิ่น ; \v เล่มที่ 7
490##\aชุดผลงานวิจัยเด่น 10 ปี สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า
520##\aการเมืองถิ่นกรณีศึกษานักการเมืองถิ่นนครศรีธรรมราชนี้มีวัตถุประสงค์การศึกษาประกอบด้วย 1. เพื่อศึกษาอัตลักษณ์ของนักการเมืองระดับชาติในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อศึกษาถึงเครือข่ายความสัมพันธ์ของนักการเมืองระดับชาติในจังหวัดนครศรีธรรมราชกับประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยใช้วิธีวิทยาการวิจัยแบบคุณภาพ เน้นการศึกษาจากเอกสารและสัมภาษณ์นักการเมืองและบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือรับรู้ปรากฏการณ์ทางการเมือง พบว่า ปฏิบัติการทางการเมืองนครศรีธรรมราชนั้นสัมพันธ์กับบริบททางการเมืองระดับชาติและบริบทสังคมวิทยาการเมืองแบบดั้งเดิม ตามวิธีของชาวนครศรีธรรมราช โดยแบ่งช่วงเวลาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยออกเป็นสามช่วง โดยมีคุณลักษณะของแต่ละช่วงต่างกันไป ประกอบด้วย ช่วงแรก พ.ศ. 2475-2500 ยุคเทคนิควิธีการหาเสียง ช่วงที่สอง พ.ศ. 2500-2535 ยุคสถาปนาพรรคประชาธิปัตย์ เน้นการปราศรัย อภิปรายด้วยลีลาดุดัน กลายเป็นดาวสภา หางบประมาณลงสู่เขต ต่อสู้กับลัทธิและอิทธิพลเพื่อประชาธิปไตย ช่วงที่สามหลัง พ.ศ. 2535 ยุคการจรรโลงประชาธิปไตยและยุคจรรโลงความเป็นประชาธิปัตย์ในนครศรีธรรมราช ดังนั้น การกล่าวถึงการเมืองนครศรีธรรมราชต้องเพ่งพินิจไปที่นักการเมืองจากพรรคประชาธิปัตย์ เพราะความต่อเนื่องในการชนะการเลือกตั้ง โดยมีลักษณะพัฒนาการจากระบบแบบเดิมหรือสังคมการเมืองไทยแบบโบราณที่มีตัวแทนแบบอำนาจนิยมที่มีสายใยทางศาสนาไปสู่การเมืองระบบตัวแทนในระบบประชาธิปไตยอย่างเข้มข้น ที่มีการใช้ศาสนาเป็นกลไกในการสร้างอุดมการณ์ในการช่วยขับเคลื่อนให้เกิดอุดมการณ์ของการเมืองประชาธิปไตยตัวแทนโดยนักการเมืองและพรรคการเมือง การเมืองแบบใหม่ที่เน้นความสำคัญต่อระบบตัวแทนจึงสำเร็จในนครศรีธรรมราชสูงมาก ส่งผลให้ประชาชนกลายเป็นผู้รับอุปถัมภ์ โดยมีผู้ให้อุปถัมภ์รายใหม่คือ นักการเมืองที่ชนะเลือกตั้ง อัตลักษณ์ทางการเมืองของนักการเมืองถิ่น คือ มีความรู้สูง หรือมีการศึกษาค้นคว้าอยู่ตลอด พร้อมกับมีความใกล้ชิดประชาชนอย่างมาก การอุปถัมภ์ด้วยการสร้างโครงการพัฒนาทางกายภาพ สร้างวาทกรรมทางการเมือง ความกล้าหาญที่ชี้นำประชาชนให้เป็นถึงความไม่ถูกต้อง ความไม่เหมาะสมของราชการและคู่ต่อสู้ทางการเมืองอย่างไม่เกรงกลัว จึงเน้นกลวิธีการหาเสียงมากกว่าการเมืองเชิงนโยบาย อย่างไรก็ตาม นักการเมืองถิ่นในนครศรีธรรมราชจะมีการแย่งชิงการนำระหว่างกันภายในจังหวัดฯ เพื่อหวังเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดนครศรีธรรมราชและประเทศ แม้นว่าทุกกลุ่มการเมืองแย่งชิงการนำกัน แต่ไม่ยอมพ่ายแพ้ออกจากความเป็นประชาธิปไตย กระบวนการสร้างเครือข่ายการหาเสียง ในช่วงแรกมีการใช้พรรคพวก ญาติ เครือข่ายวิชาชีพครู เครือข่ายสถาบันการศึกษาหรือชมรมศิษย์เก่าของสถาบันการศึกษา ในช่วงการจรรโลงประชาธิปัตย์ นั้นมีการใช้เครือข่ายสตรี ซึ่งเป็นกลุ่มที่ต่อยอดกลุ่มทางสังคมที่ทางราชการสร้างขึ้นมา การใช้กลไกศาสนามาเป็นกลไกสร้างความเป็นนักการเมืองแบบประชาธิปัตย์ จากนั้นก็สร้างอุดมการณ์แบบประชาธิปัตย์ขึ้นมา และนักการเมืองท้องถิ่นที่พยายามสร้างความเป็นประชาธิปัตย์นี้คือ มาตรฐานทางการเมืองถิ่นนครศรีธรรมราชที่สามารถจรรโลงอำนาจทางการเมืองด้วยการชนะการเลือกตั้งตลอดมา
530##\aมีฉบับอิเล็กทรอนิกส์
650#4\aนักการเมือง \z ไทย \z นครศรีธรรมราช
650#4\aการหาเสียงเลือกตั้ง \z ไทย \z นครศรีธรรมราช
650#4\aกลุ่มอิทธิพล \zไทย \zนครศรีธรรมราช
653##\aนักการเมืองท้องถิ่น
850##\aLIC
930##\aสิ่งพิมพ์สถาบันพระปกเกล้า
930##\aงานวิจัยสถาบันพระปกเกล้า
999##\a2110027700 ฉ.2
หน้าปก

ส่งหน้านี้ไปยังสมาร์ทโฟน


ฐานข้อมูลปัจจุบัน
ฐานข้อมูลหลัก
(Total 31139 Bib)
กลับสู่ด้านบน

© 2024. Book Promotion & Service Co.,Ltd. · เจ้าหน้าที่เข้าสู่ระบบ · ติดต่อห้องสมุด