Company logo
หน้า MARC
Rec.Status n Bib.Stage Normal Create trikao Modify trikao
Rec.Type a Language tha Entry d. 2023/03/22 Update d. 2023/03/22
Bib.Level m Pub Ctry. th Date1 2566 Date2 0
Tag Ind Content
001##0003-0128
016##\a23328 ฉ.1
016##\a23329 ฉ.2
016##\a23330 ฉ.3
020##\a9786164763565
050##\aJQ1749.ก5 \b.ป46ก 2566
1000#\aประจักษ์ ก้องกีรติ
24510\aการเมืองของระบบเลือกตั้ง : \b อำนาจ ความขัดแย้ง และประชาธิปไตย / \c ประจักษ์ ก้องกีรติ
250##\aพิมพ์ครั้งที่ 1
260##\aกรุงเทพฯ : \b วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า, \c 2566
300##\a212 หน้า : \b ตารางประกอบ ; \c 21 ซม.
5050#\aบทที่ 1 ระบบเลือกตั้ง ความขัดแย้ง และประชาธิปไตย : การเลือกตั้ง ความขัดแย้ง และคุณภาพประชาธิปไตย -- การออกแบบการเมืองและระบบการเลือกตั้ง: แนวคิดทฤษฎี -- ระบบเลือกตั้ง: กลไก ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ และผลกระทบ -- การเลือกตั้งในฐานะกลไกเชิงสถาบันเพื่อแก้ไขความขัดแย้งและความรุนแรง -- ที่มา หนทางสู่การปฏิรูป และการเมืองของการออกแบบระบบเลือกตั้ง (politics of electoral system design) -- ประเภทของระบบเลือกตั้ง: คุณลักษณะและความแตกต่างหลากหลาย -- คุณภาพประชาธิปไตยและประชาธิปไตยที่มั่นคงยั่งยืน (Consolidated Democracy)
5050#\aบทที่ 2 พัฒนาการของระบบเลือกตั้งของไทย: การออกแบบเชิงสถาบัน การจัดสรรอำนาจ และความขัดแย้งทางการเมือง : ความเปลี่ยนแปลงในระบบเลือกตั้งของไทย และหนทางสู่การแก้ไขความขัดแย้งและสร้างประชาธิปไตยที่มีคุณภาพ -- การเมืองเรื่องการเลือกตั้งจาก พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2562 -- ระบบเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550: การออกแบบเชิงสถาบันและความขัดแย้งทางการเมือง -- ระบบเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2560: การเมืองของการออกแบระบบเลือกตั้ง
5050#\aบทที่ 3 เปรียบเทียบระบบเลือกตั้งของไทยจากรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 ถึง พ.ศ. 2560 -- บทที่ 4 ข้อเสนอในการปฏิรูป: ระบบเลือกตั้งผสมแบบสัดส่วนเพื่อลดความขัดแย้งและเสริมสร้างคุณภาพประชาธิปไตย : ออกแบบระบบเลือกตั้งใหม่เพื่อประชาธิปไตยที่ยั่งยืน
520##\aระบบเลือกตั้งของไทยถูกเปลี่ยนบ่อยครั้งอันเนื่องจากความขัดแย้งและความไร้เสถียรภาพทางการเมืองในรอบ 2 ทศวรรษ ประเทศไทยเปลี่ยนระบบเลือกตั้งถึง 4 ครั้ง การเปลี่ยนระบบเลือกตั้งบ่อยครั้งเช่นนี้ สะท้อนการขาดฉันทามติในสังคมไทยในเรื่องกติกาพื้นฐานในการขึ้นสู่อำนาจ และสะท้อนว่าระบบเลือกตั้งแต่ละระบบยังไม่ตอบโจทย์ในเรื่องการแก้ปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทย หนังสือเล่มนี้ได้สำรวจลักษณะเด่นของระบบเลือกตั้งผสมแบบสัดส่วนที่ประเทศเยอรมนีเป็นต้นแบบในการคิดค้น และปรเทศนิวซีแลนด์ได้นำมาใช้จนประสบผลสำเร็จ ซึ่งระบบเลือกตั้งผสมแบบสัดส่วนมีข้อดีทั้งในการสร้างความเป็นสัดส่วนและเสถียรภาพของรัฐบาลและระบบพรรคการเมืองซึ่งเหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของความขัดแย้งและประชาธิปไตยของไทย
650#4\aการเลือกตั้ง \z ไทย
650#4\aการเลือกตั้ง \x การศึกษาเปรียบเทียบ
650#4\aประชาธิปไตย \z ไทย
650#4\aความขัดแย้งทางการเมือง \z ไทย
650#4\aความขัดแย้งทางสังคม \z ไทย
650#4\aการบริหารความขัดแย้ง \z ไทย
651#4\aไทย \x การเมืองและการปกครอง
7102#\aสถาบันพระปกเกล้า \b วิทยาลัยการเมืองการปกครอง
850##\aLIC
930##\aสิ่งพิมพ์สถาบันพระปกเกล้า
999##\a2110033975 ฉ.1
999##\a2110033976 ฉ.2
999##\a2110033977 ฉ.3
หน้าปก

ส่งหน้านี้ไปยังสมาร์ทโฟน


ฐานข้อมูลปัจจุบัน
ฐานข้อมูลหลัก
(Total 31137 Bib)
กลับสู่ด้านบน

© 2024. Book Promotion & Service Co.,Ltd. · เจ้าหน้าที่เข้าสู่ระบบ · ติดต่อห้องสมุด